Page 73 - คอนกรีต
P. 73
3-14
วิธีท า ท าตามล าดับขั้นตอนดังนี้
1. จากข้อมูลในตารางที่ 3.1 ประกอบกับความช านาญ เห็นว่าควร
ใช้ค่าความยุบตัว 8 - 10 ซม.
2. โจทย์ก าหนดให้ขนาดโตสุดของวัสดุผสมหยาบเป็น 40 มม. (1
1/2 นิ้ว)
3. เนื่องจากคอนกรีตไม่ถูกกับสภาวะเปิดเผยรุนแรง ดังนั้น
ใช้คอนกรีตที่ไม่มีสารกระจายกักฟอง
อากาศ จากตารางที่ 3.3 เมื่อขนาดโตของวัสดุผสมหยาบเป็น
40 มม.ค่าความยุบตัว 8 - 10 ซม.
จะได้ปริมาณน้ าที่ต้องใช้ = 175 ลิตร/ลบ.ม.ของคอนกรีต
4. จากตารางที่ 3.5 ส าหรับคอนกรีตที่ต้องการก าลังอัดเฉลี่ย
250 กก./ซม. จะได้อัตราส่วนน้ าต่อ
2
ซีเมนต์โดยน้ าหนักที่ต้องใช้ = 0.62
5. ปริมาณซีเมนต์ที่ต้องการ = 175/0.62 = 282 กก./ลบ.ม.ของ
คอนกรีต
6. หาปริมาณของวัสดุผสมหยาบ จากตารางที่ 3.6 เมื่อค่า
โมดูลัสความละเอียดของวัสดุผสม
ละเอียดเท่ากับ 2.80 และขนาดโตสุดของวัสดุผสมหยาบเป็น
40 มม. จะได้ปริมาตรของวัสดุ
ผสมหยาบในสภาพแห้งและอัดแน่น = 0.72 ลบ./ลบ.ม.ของ
คอนกรีต แต่โจทย์ของหน่วยน้ าหนัก
ของหิน = 1,600 กก./ลบ.ม.
- ดังนั้นน้ าหนักของวัสดุผสมหยาบที่ใช้ = 0.72 x 1600 =
1152 กก./ลบ.ม.ของคอนกรีต
7. หาปริมาณของวัสดุผสมละเอียด ดังนี้.-
น้ าหนักของวัสดุ
จากสูตร ปริมาตรเนื้อแท้ =
ความถ่วงจ าเพาะ x หน่วย
น้ าหนักของน้ า