Page 65 - คอนกรีต
P. 65
3-6
ิ
ั
่
์
ปริมาณของหนและทรายที่ใช้ไปหาอตราส่วนระหว่างซเมนต ตอทราย
ี
ต่อหิน ซึ่งอาจจะเปรียบเทียบโดยน้ าหนักหรือปริมาตรก็ได้
้
้
หลังที่ค านวณได้สัดส่วนที่ใหความข้นเหลวตามที่ตองการแล้ว
ี
ิ
่
ก็หาอัตราส่วนของทรายตอหนด้วยการทดลองผสมอก (โดยยังคงรักษา
อัตราส่วนน้ าต่อซีเมนต์และความข้นเหลวไว้คงที่) จนกระทั่งได้ส่วนผสม
ที่ดีที่สุด คือ ส่วนผสมที่ใช้ปริมาณของซเมนตเพสตน้อยที่สุด ส่วนผสม
ี
์
์
ี
์
คอนกรีตที่มซเมนตเพสตและทรายไมเพียงพอส าหรับไปอดในระหว่าง
ี
ุ
่
์
ช่องว่างระหว่างหินจะท างานได้ยาก และเป็นผลให้มีผิวหยาบและเป็นรัง
ผึ้ง แต่ถ้ามีซีเมนต์เพสต์และทรายมากเกินไป จะได้ปริมาณคอนกรีต
น้อยและคอนกรีตมักจะพรุน ต้องพยายามใช้หินมากที่สุดเท่าที่จะมากได้
้
้
โดยมทรายในปริมาณที่พอเหมาะเพื่อใหได้ความข้นเหลวตามตองการ
ี
ึ
ั
เมื่อได้ส่วนผสมที่ดีที่สุดแล้ว จงปรับอตราส่วนผสมตามปริมาณความชื้น
ในวัสดุผสมเพื่อน าไปใช้ในงาน
3.2 วิธีของ ACI
การค านวณหาปฏิภาคส่วนผสมส าหรับงานคอนกรีตทั่วไป
อาจจะด าเนินเป็นขั้น ๆ ตามวิธีการซึ่งเสนอโดยสถาบันคอนกรีตของ
อเมริกา (ACI 211.1 - 70) ซึ่งให้ผลค่อนข้างแน่นอนไม่เปลี่ยนแปลง
และถูกต้อง ทั้งนี้ จะต้องทราบคุณสมบัติต่าง ๆ ของวัสดุที่ใช้ท าคอนกรีต
เสียก่อน เช่น ความถ่วงจ าเพาะ หน่วยน้ าหนัก โมดูลัสความละเอียด
และเปอร์เซ็นต์การดูดซึม เป็นต้น อีกทั้งวัสดุผสม ต้องมีส่วนขนาดคละ
อยู่ในพิกัดก าหนดด้วย ดังต่อไปนี้
3.2.1 เลือกค่าความยุบตัวที่เหมาะสมกับประเภทของงาน
ค่าความยุบตัวต้องอยู่ในช่วงที่เหมาะสม และให้ได้ความ
ข้นเหลวพอท างานได้สะดวกในกรณีที่มิได้ก าหนดค่าความยุบตัวให้
ค่าความยุบตัวที่เหมาะสมกับประเภทของงานเลือกใช้ได้จากตาราง ที่
3.1