Page 62 - คอนกรีต
P. 62
3-3
่
เหมาะสมส าหรับคอนกรีตในสภาวะเปิดเผยตาง ๆ ดังแสดงในตารางที่
3.1 และ 3.2
2.3 ความสามารถเทได้ (Workability)
คอนกรีตที่ผสมเสร็จใหม่ ๆ ควรมีความข้นเหลวพอเหมาะที่จะเท
เข้าแบบได้สะดวก หรือเรียกว่า มีความสามารถเทได้นั่นเอง สัดส่วนผสม
ที่ท าให้คอนกรีตเหลวเกินไป มีผลให้เกิดการแยกตัวในขณะล าเลียงและ
่
้
ี
ี
่
เท อกทั้งท าใหก าลังของคอนกรีตตาลง ไมคงทนถาวรและมโอกาส
แตกร้าวได้ง่าย
ความสามารถเทได้ ขึ้นอยู่กับขนาดของหน้าตดที่จะเท
ั
ุ
ี
่
ั
คอนกรีต และระยะหางของเหล็กเสริม ถ้าหน้าตดแคบและมเหลี่ยมมม
มาก คอนกรีตจะตองมความสามารถเทได้สูงเพื่อความสะดวกในการ
ี
้
ั
ท างาน ความข้นเหลวที่พอเหมาะนี้ ใช้ค่าความยุบตวของคอนกรีตเป็น
เครื่องก าหนดแนวทาง ที่ใช้เป็นมาตรการหาความข้นเหลวหรือเทียบว่า
ั
มีน้ ามากน้อยแค่ไหนนั้น ดูได้จากระยะการยุบตวของคอนกรีตขณะที่ยัง
ั
เหลวอยู่ การวัดระยะการยุบตวส าหรับคอนกรีตที่ใช้ในงานตาง ๆ นั้น
่
ี
่
ควรท าเป็นประจา เพื่อจะได้เนื้อคอนกรีตที่มคุณภาพดีสมาเสมอกัน
ตลอด
2.4 ขนาดโตของวัสดุผสม (Maximum Size of Aggregate)
ในงานคอนกรีตเสริมเหล็ก ความกว้างของหน้าตดที่จะเท
ั
ั
่
คอนกรีตและระยะหางของเหล็กเสริมจะเป็นตวก าหนดขนาดโตสุดของ
ี
วัสดุผสมที่จะใช้ โดยทั่วไปพยายามใช้วัสดุผสมที่มขนาดโตที่สุด
เท่าที่จะยอมใหได้ ทั้งนี้เพราะการใช้วัสดุผสมที่มขนาดค่อนข้างใหญ่
ี
้
่
้
ั
ิ
จะท าใหผวที่สัมผสกับซเมนตตอหนึ่งหน่วยลดน้อยลง นั่นคือปริมาณ
์
ี
ปูนซเมนตที่จะใช้ก็น้อยลงด้วยท าใหลดปริมาณน้ าที่ใช้ในการผสมลง
์
ี
้
ุ
้
ด้วย เป็นเหตใหก าลังของคอนกรีตสูงขึ้นและได้คอนกรีตราคาประหยัด
อย่างไรก็ดี ขนาดโตสุดของวัสดุผสมไมควรโตกว่าสามในสี่ส่วนของ
่
ระยะห่างของช่องว่างระหว่างเหล็กเสริม และตองไมเกินกว่า 1/5 เท่า
่
้
ของด้านที่แคบสุดของโครงอาคารที่จะเท
นอกจากนี้ การเลือกขนาดโตสุดของวัสดุผสม ยังจะตอง
้
พิจารณารวมไปถึง ความสะดวก และความสามารถในการขนส่งวัสดุ
้
มายังสถานที่ผสมและเท ตลอดจนตองค านึงถึงราคาด้วย วัสดุผสม