Page 67 - คอนกรีต
P. 67
3-8
3.2.3 ประมาณปริมาณน้ าที่ผสมและปริมาณฟองอากาศที่
เกิดขึ้น
้
ในส่วนผสมคอนกรีตที่ตารางที่ 3.3 ใหปริมาณน้ าที่
ต้องการในหนึ่งหน่วยปริมาตรของคอนกรีตเพื่อให้ได้ค่าการยุบตัวตามที่
ึ่
ก าหนด ซงขึ้นอยู่กับขนาดโตสุด และส่วนขนาดคละของวัสดุผสมใน
ี
้
่
้
ตารางดังกล่าว ยังใหค่าปริมาณฟองอากาศที่เกิดไมมสารท าใหเกิด
ฟองอากาศ และปริมาณฟองอากาศที่ควรจะมในส่วนผสมคอนกรีตเมอ
ื่
ี
ใส่สารท าให้เกิดฟองอากาศ
ตารางที่ 3.3 ปริมาณน้ าที่ต้องการส าหรับค่าความยุบตัวและวัสดุผสม
ขนาดต่าง ๆ
้
3
เ
็
ุ
ค่าความยบ ปริมาณนาปนลิตร ต่อคอนกรีต 1 ม.สาหรับวัสดุผสมขนาดต่าง ๆ
ตัว (ซม.) 3/8" 1/2" 3/4" 1" 1 1/2" 2" 3" 6"
(10 มม.) (12.5 มม.) (20 มม.) (25 มม.) (40 มม.) (50 มม.) (75 มม.) (150 มม.)
่
คอนกรีตทีไม่มีสารกระจายกักฟองอากาศ
3 - 5 205 200 185 180 160 160 145 125
8 - 10 225 215 200 195 175 175 160 140
15 - 18 240 230 210 205 185 180 170 -
ปริมาณฟอง
อากาศ (%)
โดยปริมาตร 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 1.0 0.5 0.2
่
คอนกรีตทีมีสารกระจายกักฟองอากาศ
3 - 5 180 175 165 160 145 140 135 120
8 - 10 200 190 180 175 160 155 150 135
15 - 18 215 205 190 185 170 165 160 -
ปริมาณฟอง
อากาศ (%)
โดยปริมาตร 8 7 6 5 4.5 4 3.5 3
หมายเหตุ ปริมาณน้ าที่แสดงนี้ เป็นปริมาณสูงสุดส าหรับหินที่มีรูปร่างดี
ช่วยให้ท างานง่ายและลดหลั่นดีตามข้อก าหนด - ถ้า