Page 17 - คอนกรีต
P. 17
1-7
่
เปอร ์ซ็นต์สะสมทีค้างบนตะแกรงขนาดต่าง ๆ
เ
หิน
ขนาด
้
้
้
้
ขนาดตะแกรง ตังแต่เบอร ์ ตังแต่เบอร ์ ตังแต่เบอร ์ ตังแต่เบอร ์
4 ถง 3/4” 4 ถง 1” 4 ถง 1.5” 4 ถง 2”
ึ
ึ
ึ
ึ
ิ
้
2 นว 0 0 0 - 5
้
ิ
1.5 นว 0 0 - 5 -
้
1 นว 0 0 - 5 - 30 - 65
ิ
0.75 นว 0 - 10 - 30 - 65 -
้
ิ
ิ
้
0.5 นว - 40 - 75 - 70 - 90
ิ
0.375 นว 0 45 - 80 - 70 - 90 -
้
เบอร ์4 0 - 5 90 - 100 90 - 100 95 - 100 95 - 100
เบอร ์8 0 - 20 95 - 100 95 - 100
เบอร ์16 15 - 50
เบอร ์30 40 - 75
เบอร ์50 70 - 90
เบอร ์100 90 - 98
2.2.2.8 ความชื้น และการดูดซีม (Moisture and
Absorbtion)
ภายในก้อนของวัสดุมวลรวมจะประกอบไปด้วย เนื้อ
และช่องว่าง ช่องว่างและเนื้อเหล่านี้ จะเก็บดูดความชื้นในอากาศเข้าไว้
ท าให้วัสดุอยู่ในสภาวะใดสภาวะหนึ่ง ในสี่สภาวะต่อไปนี้
ก) แห้งด้วยเตาอบ คือ แหงสนิทโดยตลอด ท าให ้
้
วัสดุสามารถดูดความชื้นได้เต็มที่
้
่
ิ
ข) แห้งด้วยอากาศ คือ แหงที่ผว แตมความชื้นอยู่
ี
ภายในช่องว่างข้างใน ท าให้วัสดุสามารถดูดความชื้นได้บ้าง
ค) อิ่มตัวผิวแห้ง คือ มความชื้นทั่วถึงตลอด สภาวะนี้
ี
ถือว่าดีที่สุดส าหรับใช้ผสมคอนกรีต เพราะจะไม่ดูด หรือคายความชื้น
ง) ชื้นหรือเปียก คือ มีน้ าอยู่รอบผิววัสดุ
ี
่
ึ
สภาพความชื้นและการดูดซมของวัสดุ จะมผลตอ
ปริมาณน้ าที่ใช้ผสมคอนกรีต หากวัสดุสามารถดูดความชื้นได้ น้ าใน
ี
้
คอนกรีตจะถูกดูดไป ท าใหมปริมาณน้ าที่เข้าท าปฏิกิริยากับปูนซเมนต ์
ี