Page 19 - คอนกรีต
P. 19
1-9
ี
โมดูลัสความละเอยด (FM) นี้ เป็นเลขดัชนีที่เป็น
ปฏิภาคโดยประมาณกับขนาดเฉลี่ยของก้อนวัสดุในวัสดุมวลรวมที่
ก าหนด นั่นคือ วัสดุมวลรวมยิ่งหยาบ ค่า FM ยิ่งสูงขึ้น ส าหรับทรายที่
ใช้ท าคอนกรีตควรมีค่า FM ระหว่าง 2.25 - 3.25 หนที่ใช้ผสมคอนกรีต
ิ
ควรมีค่า FM ระหว่าง 5.5 – 7.5
2.2.2.11 ขนาดโตสุดของวัสดุมวลรวม (Maximum size
of Aggregate)
้
ขนาดโตสุดของวัสดุมวลรวม ตองอยู่ในเกณฑ์
่
ก าหนดมาตรฐาน และตองไมโต กว่า 1/5 ของด้านที่แคบสุดของแบบ
้
่
หล่อ หรือไมโตกว่า 3/4 ของระยะหางระหว่างเหล็กเสริมแตละเส้น หรือ
่
่
ี
่
ิ
ั
่
แตละมด ทั้งทางดิ่ง และทางระดับ ขนาดของหนเบอร์ตาง ๆ มแสดงใน
ตารางที่ 1.3
ตารางที่ 1.3 ขนาดของหินเบอร์ต่างๆ
หินเบอร ์ ขนาด (มม.) หินเบอร ์ ขนาด (มม.)
่
0 หินฝุน,เศษหินย่อย 3 50 - 75
1 20 – 25 4 75 - 100
2 25 – 50 หินใหญ่พิเศษ 100 ขนไป
ึ
้
3. คุณสมบัติที่ส าคัญของคอนกรีต
ส าหรับการพิจารณาถึงคุณสมบัติของคอนกรีตที่ส าคัญ ในที่นี้จะ
แยกพิจารณาคุณสมบัติของคอนกรีตใน 2 ลักษณะคือ คอนกรีตใน
สภาพที่ยังเหลว และ คอนกรีตในสภาพที่แข็งตัวแล้ว
3.1 คอนกรีตในสภาพที่ยังเหลว
มีคุณสมบัติอยู่ 2 ประการที่ควรพิจารณา คือ