Page 16 - คอนกรีต
P. 16
1-6
2.2.2.6 ความสะอาด (Cleanliness)
วัสดุมวลรวมต้องสะอาด มีสารที่จะท าใหเกิดการเสื่อม
้
่
้
คุณภาพตอคอนกรีตน้อยที่สุด สารเหล่านี้ ได้แก่ เปลือกหอย ชายออย
ิ
ถ่านหน ถ่าน เศษไม เศษกระดาษ ก้อนหน โคลนเลน ฝน หรือ ผ ง
ิ
ุ่
้
ี
ละเอยด (Silt) ถุงพลาสตก ใบไม เป็นตน สิ่งดังกล่าวนี้ท าใหความ
้
ิ
้
้
้
่
ี
ทนทาน และแรงยึดเหนี่ยวลดลง บางครั้งท าใหคอนกรีตร้าว, มก าลังตา,
ั
ั
้
ื
แข็งตวช้า ปริมาณสิ่งเจอปนที่จะเป็นอนตรายตอคอนกรีต จะตองมไม ่
ี
่
มากกว่าที่ก าหนดไว้ในตารางที่ 1.1
ตารางที่ 1.1 ปริมาณของสิ่งเจือปนที่ยอมให้ในวัสดุมวลรวม
้
่
ู
เ
ุ
่
สิงเจือปนในวัสดุผสม เปอร ์ซ็นต์ทียอมให้สงสดโดยนาหนัก
ในวัสดุผสมละเอียด ในวัสดุผสมหยาบ
ิ
1. ดนเหนยว 1 0.25
ี
ี
่
่
ี
์
ื
ุ
2. ฝนหรอผงละเอยดทผานตระแกรงมาตรฐาน เบอร 200
่
ั
2.1 คอนกรตทรบแรงเสยดส ี 5 1
่
ี
ี
ี
ั
่
2.2 คอนกรตทวไป 5 1
ี
ื
ิ
ิ
3. ถานหนหรอลกไนท ์
่
ั
ิ
่
้
3.1 สำหรบงานทอวดผวหนา 0.5 0.5
ี
ั
3.2 คอนกรตทวไป 1 1
่
ี
4. วสดออน (เชน รากไม, เศษไม) - 5
ั
ุ
้
่
้
่
2.2.2.7 ความลดหลั่นของขนาด หรืออัตราส่วนขนาดคละ
(Gradation)
วัสดุมวลรวมที่ใช้ผสมคอนกรีตจะตองมความลดหลั่น
ี
้
ี
ั
้
ของขนาดที่เหมาะสม ซง จะช่วยใหเรียงตวกันได้แน่น และมช่องว่าง
ึ่
ี
้
้
น้อย ท าใหคอนกรีตมก าลังมากขึ้น ทั้งยังช่วยใหท างานได้ง่าย เกณฑ์
ก าหนดส่วนคละของขนาดวัสดุมวลรวม มีแสดงไว้ในตารางที่ 1.2
ตารางที่ 1.2 เกณฑ์ก าหนดอัตราส่วนขนาดคละของวัสดุผสม