Page 13 - คอนกรีต
P. 13
1-3
หน้าที่หลักๆ ของซีเมนต์เพสต์ คือ เป็นตัวยึดวัสดุมวล
รวมเข้าด้วยกัน
2.1.2 คุณภาพของซีเมนต์เพสต์
์
คุณภาพของซเมนต ส่วนใหญ่ดูที่ก าลัง (Strength) เป็น
ี
์
ี
ี
่
์
ั
์
หลัก ก าลังของซเมนตเพสตจะขึ้นอยู่กับอตราส่วนของน้ าตอซเมนต
ี
์
ั
่
(Water/Cement Ratio) ถ้าอตราส่วนน้ าตอซเมนตมาก (น้ ามาก ปูน
่
น้อย) ก าลังของซีเมนต์เพสต์ก็จะน้อย ในทางกลับกัน ถ้าอัตราส่วนน้ าตอ
ซีเมนต์น้อย (น้ าน้อย ปูนมาก) ก าลังของซเมนตเพสตจะมากตาม ฉะนั้น
ี
์
์
การควบคุมปริมาณน้ าที่ใช้ในการผสมคอนกรีต จงเป็นเรื่องส าคัญที่สุด
ึ
่
้
การเพิ่มน้ าเพื่อใหคอนกรีตเหลวขึ้น ท างานได้ง่ายขึ้น โดยไมเพิ่ม
ปูนซีเมนต์ด้วย จะท าให้คอนกรีตที่ได้มีคุณภาพต่ ากว่าที่ต้องการ
2.1.3 ปฏิกิริยาระหว่างน้ า และปูนซีเมนต์
์
ี
เมอน าน้ ามาผสมกับปูนซเมนต จะเกิดปฏิกิริยาทางเคมี
ื่
์
ี
้
ึ่
เรียกว่า ปฏิกิริยาไฮเดรชั่น (Hydration) ซงท าใหปูนซเมนตแปรสภาพ
ึ่
็
ี
ี
ิ
จากเมดเล็กละเอยด เป็นวัสดุที่มลักษณะคล้ายเจลาตน (หรือวุ้น) ซงจะ
ค่อย ๆ แข็งตวขึ้นตามล าดับ ตราบเท่าที่ยังมน้ าเข้าท าปฏิกิริยาอยู่ นั่น
ั
ี
์
คือ ปฏิกิริยาทางเคมระหว่าง ปูนซเมนตกับน้ าจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วใน
ี
ี
้
ระยะเริ่มตนตอนแรก ๆ และจะช้าลงตามล าดับในตอนหลัง ดังนั้น
ปฏิกิริยาไฮเดรชั่นจะเกิดขึ้นมากหรือน้อย เพียงใด ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ า
้
ที่มีอยู่ในคอนกรีตนี่เอง โดยหลังจากที่เทคอนกรีตและถอดแบบแล้ว ตอง
ี
ุ
ท าการบ่มคอนกรีตทันที จดประสงค์ก็คือ เพื่อใหมน้ าเข้าท าปฏิกิริยากับ
้
ปูนซีเมนต์ตลอด ไม่ขาดตอน
ี
้
์
ผลลัพธของปฏิกิริยาไฮเดรชั่น นอกจากจะท าใหซเมนต ์
ี
เพสตแข็งตวแล้ว ยังมความร้อนที่ถูกปล่อยออกมาด้วย ความร้อนที่
ั
์
เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาไฮเดรชั่น (Heat of Hydration) จะระบายผาน
่
ี
่
ออกมาทางเนอคอนกรีต แตถ้าหากมความร้อนมาก ๆ จะท าใหคอนกรีต
้
ื้
้
เสียก าลังไปและอาจท าใหคอนกรีตแตกร้าวได้เนื่องจากแรงดันภายใน
คอนกรีต ฉะนั้น ในการเทคอนกรีตขนาดใหญ่ หนา ๆ (เช่น ฐานราก