Page 12 - คอนกรีต
P. 12
1-2
รูปที่ 1.1 การผสมส่วนผสมคอนกรีต
คอนกรีตที่ใช้ในงานโครงสร้าง สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท
ใหญ่ ๆ ได้แก่
1.1 คอนกรีตล้วน
่
เป็นคอนกรีตอย่างเดียวล้วน ๆ ไมมวัสดุอนมาเสริม จะใช้กับ
ี
ื่
โครงสร้างรับแรงอัด
1.2 คอนกรีตเสริมเหล็ก
เป็นคอนกรีตที่มเหล็กเสริมร่วมกับคอนกรีต โดยหล่ออยู่ในเนื้อ
ี
คอนกรีต ใช้กับโครงสร้างที่รับแรงดึง และแรงอัด
1.3 คอนกรีตอัดแรง
เป็นคอนกรีตที่อัดแรงก่อนไว้ก่อนใช้งาน โดยการดึงเหล็กที่ทน
ั
้
ั
แรงดึงสูงให้ยืดออก และตดเหล็กปล่อยใหเหล็กพยายามหดตวกลับจาก
จดที่ยึด เป็นการอดแรงใหกับคอนกรีต คอนกรีตอดแรงสามารถรับแรง
ุ
ั
้
ั
ได้ดีกว่าเพราะใช้ประโยชน์จากหน้าตัดคอนกรีต ได้ดีกว่าคอนกรีตเสริม
เหล็ก
2. องค์ประกอบของคอนกรีต
ิ
คอนกรีต คือ วัสดุที่ได้จากผสมกันของ ปูนซเมนต ทราย หน น้ า
์
ี
ั
้
และสารผสมเพิ่ม ในอตราส่วนที่เหมาะสม เพื่อใหได้คอนกรีตที่ม ี
้
คุณลักษณะตามที่ตองการ หากจะพิจารณาคอนกรีตตามลักษณะเนื้อ
ี
์
คอนกรีต จะสามารถแบ่งคอนกรีตออกได้เป็น 2 ส่วน คือ ซเมนตเพสต์
(Cement Paste) และวัสดุมวลรวม (Aggregate)
2.1 ซีเมนต์เพสต์ (Cement Paste)
2.1.1 ส่วนประกอบ และหน้าที่ของซีเมนต์เพสต์
ี
์
ซเมนตเพสต ประกอบด้วย ปูนซเมนต น้ า และอากาศ
์
ี
์
โดยทั่วไปในเนื้อคอนกรีตจะมปริมาณของซเมนตเพสตประมาณ 23 –
ี
์
ี
์
์
ี
ี
40 % โดยปริมาตร ในซเมนตเพสต จะมปริมาตรของปูนซเมนต 3 –
ี
์
์
15 % น้ า 14 – 21 % และปริมาตรของอากาศที่แทรกอยู่ในช่องว่าง
ประมาณ 8 %