Page 44 - Soil
P. 44

4-5


                    ใหญๆ  คือ กรวด , ทราย และอนุภาคละเอียด อยางไรก็ดีถาอนุภาคละเอียดมีดินเหนียวมากการที่แยกอนุภาค
                    ละเอียดกระทําไดโดยการลางผานตระแกรงหมายเลข 200 เทานั้น

                          การหาเปอรเซ็นตของอนุภาคละเอียดทําไดโดยเปรียบเทียบ นน.แหงของตัวอยางทั้งหมดกับสวนที่คาง
                    ตะแกรงหมายเลข 200 ผลตางระหวางน้ําหนัก ทั้ง 2 นี้ คืออนุภาคละเอียดที่สูญเสีย เนื่องจากการลาง การหา

                    ความเปนพลาสติก ควรใชสวนของดินที่ผานตะแกรงหมายเลข 40 เทานั้น
                          การหาการกระจายของเม็ดดินโดยประมาณ โดยไมใชเครื่องมือเลยนั้น บางทีเปนเรื่องที่ยากขึ้นอยูกับ

                    ประสบการณของผูประมาณเปนสิ่งสําคัญ การประมาณสวนสัมพันธของดินมวลละเอียดโดยเขยาดินตัวอยาง
                    บางสวนในภาชนะที่มีน้ําอยูแลวปลอยใหตะกอนวัสดุตกตะกอนเปนชั้นๆ กรวดและทรายหยาบจะตกตะกอน

                    เกือบทันที ทรายละเอียดตกตะกอนภายใน 1 นาที ดินตกตะกอนภายใน 1 ชม. และดินเหนียวคงแขวนลอยอยู
                    ในน้ํา จนกระทั่งน้ําใส

                           5.4 รูปราง
                                 รูปรางของทรายและกรวด  อาจหาไดโดยการพิจารณาเม็ดแตละเม็ดอยางใกลชิด  รูปรางของ
                    เม็ดมีผลตอเสถียรภาพของดินเพราะวา อนุภาคเม็ดเปนเหลี่ยมมีความตานทานตอการถูกแทนที่สูงกวา วัสดุเม็ด

                    กลมมีเพียงความฝดที่ผิวอนุภาคเทานั้น ที่ชวยใหอยูกับที่แตวัสดุที่เปนเหลี่ยมมีความฝด และความหยาบของผิว

                    และการขัดตัวกันระหวางอนุภาค  ทําใหมีเสถียรภาพสูงกวาที่จะอยูดวยความฝดเพียง
                    อยางเดียว
                          5.5 สมบัติของดินที่ไมถูกรบกวน

                                 การบรรยายลักษณะของดินที่สมบูรณ  ตองระบุถึงคุณสมบัติที่สําคัญของดินที่ไมไดถูกรบกวน

                    ดวย พรรณนาคุณภาพของมวลรวม เชน กรวด, ทราย โดยใชคําวา “ หลวม, ปานกลาง และแนน สําหรับดิน
                    เหนียวใชคําวา”แข็ง,  กระดาง,  ปานกลาง และออน ลักษณะเหลานี้ปกติแลวประเมินโดยอาศัยปจจัยหลาย
                    ประการ คําวา  “ออน”  ควรระบุไวดวยวาวัสดุออนและอัดตัวไดเชน ดิน ในเขตเพราะปลูก หรือพรุนเหมือน

                    ฟองน้ํา หรือ หยุนตัวได เชนดินที่สารอินทรียสูง


                    6. การทดสอบทําใหแตกหักหรือความแข็งแรงเมื่อแหง
                          ทํากับวัสดุที่ผานตะแกรงหมายเลข 40  เทานั้น การทดสอบนี้เหมือนกับการทดสอบ คลึงใหเปนเสน

                    หรือบี้ใหเปนแถบยาว คือใชสําหรับวัดความไมรวนและเปนพลาสติกของดิน ปกติทํากับดินแผนเล็กๆ หนา
                    ประมาณครึ่งนิ้วและมีเสนผานศูนยกลางยาวนิ้วครึ่ง  ดินที่เปนแผนเตรียมโดยปนใหอยูในสภาพพลาสติก ใหมี

                    รูปรางและขนาดตามตองการ แลวปลอยใหแหงเต็มที่    อาจทดลองในสภาพธรรมชาติที่พบในสนามเลยก็ได
                    หลังจากเตรียมดินใหแหงแลวพยายามทําใหแตกหักดวยหัวแมมือและนิ้วชี้ทั้งสอง  ถาหักไดพยายามปนใหเปน

                    ผงดวยหัวแมมือและนิ้วตางๆ ดวยมือเดียว ผลจากการทดสอบใหผลดังนี้
                          6.1 ดินที่เปนพลาสติกสูงมาก (CH)

                                 มีความแข็งแรงเมื่อแหงสูงไมสามารถหักหรือปนใหเปนผงดวยแรงจากนิ้วได
                           6.2 ดินที่เปนพลาสติกสูง (CH)

                                 มีความแข็งแรงเมื่อแหงสูง สามารถทําใหดินตัวอยางแตกไดตองใชแรงมาก แตปนเปนผงไมได
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49