Page 43 - Soil
P. 43

4-4


                    ออกไซดของเหล็กปนอยูดวย   สีขาวบนชมพู อาจแสดงวามีซิลิกา  แคลเซียมคารบอเนตหรือสารประกอบ
                    อลูมิเนียมอยูเปนจํานวนมาก  ดินสีน้ําเงินบนเทา  สีเทานั้นเปนจุดๆ แสดงวาการระบายน้ําไมดี

                          5.2  ขนาดเม็ด
                          ควรประมาณอนุภาคขนาดใหญสุดของตัวอยางที่พิจารณาทุกครั้งที่จะกําเนิดโครงการกระจายเม็ด

                    ของเดิมนั้นได
                           สิ่งที่จะชวยกําหนดโคงนั้นไดบางสวน    ตามปกติดวยสายตาสามารถแยกรูปรางเม็ดดินไดจนถึงขนาด

                    ประมาณ 0.05 มม. หมายถึงอนุภาคที่เปนกรวดและทรายทั้งหมดสามารถมองเห็นรูปรางไดดวยตาเปลาอนุภาค
                    ดินตะกอนสวนใหญและอนุภาคดินเหนียวทั้งหมดเล็กกวา  0.04  มม.  จึงใชสายตาแยกแยะไมได   วัสดุเล็กกวา

                    0.05 ม.ม นั้นผานตะแกรง 200
                           5.3 การกระจายขนาดเม็ดโดยประมาณ

                                 เมื่อตองการทราบการกระจายขนาดของเม็ดอยางถูกตอง    ทําการวิเคราะหดวยตะแกรงใน
                    หองทดลองเสมอ อยางไรก็ดีอาจหาการกระจายของเม็ดโดยประมาณดวยสายตา   วิธีที่ดีที่สุดเมื่อไมสามารถ
                    ทดลองในหองทดลองได  คือใหแมตัวอยางแหงบนผิวดินแบบเรียบ แลวพยายามแยกวัสดุนั้นออกตามขนาดตาง

                    ๆ   โดยวิธีนี้จะสามารถแยกกรวดทั้งหมด และทรายบางสวนอกจากสวนที่เหลือได  ฉะนั้นอยางนอยที่สุดก็จะ

                    เปดโอกาสใหประมาณไดวาเปนเม็ดหยาบหรือละเอียดซึ่งขึ้นอยูกับจํานวนผานตะแกรงหมายเลข 200 นอยหรือ
                    มากกวา 50 เปอรเซ็นต (หมายถึง นน. ดินแหงที่พิจารณาเทียบกับ  นน. ดินแหงของตัวอยางทั้งหมด) โดยสรุป
                    ดังนี้.-

                                                     การกระจายของเม็ดดิน


                                                           มวลดิน


                                          เม็ดหยาบ                    ดินอินทรีย  (PT)                      เม็ดละเอียด


                    โคงการกระจายขนาด               แผนภูมิความเปน                          แผนภูมิความเปนพลาสติก
                      ของเม็ดดิน SP                     พลาสติก GM - GC                          ML,MH,CL,CH,OL,OH


                    ถาเปนเม็ดหยาบ มีหลักเกณฑที่ตองพิจารณาดังนี้

                          1. ผานตะแกรงหมายเลข 200 นอยกวา 5 %
                          2. อนุภาคละเอียดเปนพลาสติกหรือไมเปน

                          ถาเปนไปไดตามหลักเกณฑทั้งสอง และปรากฏวามีขนาดทุกขนาดความใหญสุดถึงเล็กสุด ไมมีขนาด
                    หนึ่งขนาดใดมากหรือขาดหายไป  วัสดุมีขนาดดี ( GW หรือ SW) คาปรากฏวาขนาดระหวางกลางขนาดหนึ่ง

                    หายไปหรือที่มีขนาดโตมากเกินไปวัสดุนั้นมีลําดับขนาดเลว (  GP  หรือ SP  )  ในบางกรณีอาจนําตะแกรง
                    มาตรฐาน หมายเลข 4,40 และ 200  ไปดวย ตระแกรงหมายเลข 4 และ 200  แบงตัวอยางออกเปน 3 สวน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48