Page 38 - Soil
P. 38

3-16



                                  6.2.4 ชานลงวัสดุเดี่ยว, กับแกงแนงค้ํายัน (Single-end-trap,  with  grizzly)  ชานบรรทุก
                    แบบนี้ตองการแกงแนงค้ํายันเมื่อตองการขนยายหิน, อิฐทนไฟ (Lumps) หรือวัสดุละเอียด ตะแกรงลวดขนาด

                    หนักหรือเสาหลักค้ําอาจใชสรางเปนแกงแนงค้ํายันหรืออาจใชไมแปรรูปขนาดใหญแทน แกงแนงค้ํายันอาจใช
                    ปรับตัวหรือใชรวมกับแบบอื่น ๆ

                                  6.2.5  หลุมลงวัสดุคูปลายปด, รถบรรทุกขับผาน (Double-end  Trap,  Truck-drive
                    through)   ชานบรรทุกแบบนี้สามารถทํางานดวยรถถากถางรถเกลี่ยหรือรถถากถางที่ใชลากรถขูดโดยยอมให

                    ทํางานพรอมกันทั้งสองดาน, จัดการจราจรไดสองชองจราจร ตองการขุดและเวลาในการจัดการระบายน้ําที่
                    ยุงยาก การบรรทุกคูทําโดยชานการบรรทุกที่ยาวคลายกับแบบมีชานอยูเหนือศีรษะเพิ่มชองที่ยอมใหมีการกอง
                    วัสดุที่ไมยุงยากตอเสนทางขนยายทั้งสองและตอเครื่องมือในการขนยายวัสดุ

                                 6.2.6 ชานลงวัสดุ, ชานบรรทุกเหนือศีรษะ (Double-end Trap, Overhead-with ramps)

                    (รูปที่ 3.4)  วิธีนี้ปรับปรุงจากแบบชานลงวัสดุคูปลายปด รถบรรทุกขับผาน มีการบรรทุกพรอมๆ กันสองคัน
                    เปนการปรับเพิ่มความสูงของลักษณะน้ําใตดินดวยการยับยั้งการระบายน้ําหรือพิจารณาจํากัดระดับดิน การ
                    บรรทุกเดี่ยวหรือคูสามารถทําได ระยะหางระหวางเสาตองเพียงพอสําหรับใชรถถากถางรถเกลี่ยสําหรับ

                    เคลื่อนยายวัสดุ ชองทางจะตองจัดกวางเพียงพอสําหรับใหรถบรรทุกขับผาน
                          6.3 การออกแบบชานบรรทุก (Design of Loading Ramps)

                                  6.3.1 การออกแบบตองออกแบบใหสามารถรับน้ําหนักรถลากจูงได 20 ตัน บวกดวยปจจัย
                    กระทบ (Impact factor) อีก 50 เปอรเซ็นต

                                 6.3.2 กําแพง,พื้น และกําแพงดานขาง (Walls, floors and Wing wall) กําแพงทั้งหมดควร
                    มีความกวางและเครื่องค้ํา  (Well-braced) เพื่อกันกําแพงดานขางชวงสั้นๆ ที่สูญเสียวัสดุจํานวนมากที่หลุดไป

                    พื้นชั้นบน (Deck  flooring)  ตองปูดวยวัสดุที่ใชเปนฐานรากหนา 12  นิ้ว เพื่อปองกันมิใหรถถากถางลื่นทําให
                    เสียหายตอพื้น,พื้นที่ไมไดใชชานต่ําตองสรางชาน(Trap) ใหเล็กกวาเครื่องมือเล็กที่สุดที่ใชบรรทุก ชานที่กวางทํา

                    ใหเศษวัสดุเหลืออยูดานขางของรถบรรทุก ทําใหพลขับมองเห็นการบรรทุกและขีดจํากัดของชานบรรทุก ดังนั้น
                    ชานตองอยูตรงกึ่งกลาง ของรถ  เมื่อใชกับชานแบบถอยหลังเขาติดตั้งบล็อกสําหรับหยุดรถตรงลอหลังของรถ

                                  6.3.3 แถวเสา (Column) ที่อยูใตชานบรรทุกควรมีระยะกวางเพียงพอที่ความกวางของใบมีด
                    รถถากถางสามารถผานไดเมื่อตองการถากถางวัสดุที่ตักคางอยู

                          6.4 ที่ตั้งและจํานวนของชานบรรทุก (Location and Number of Loading Ramps)
                                  6.4.1 ระยะจากแหลงดิน (Distance from pit) จะตองมีพื้นที่เพียงพอสําหรับหมุนเวียนและ

                    กลับเครื่องมือ โดยเฉพาะอยางยิ่งการทํางานกับตลิ่งหรือเชิงเขาแตควรหลีกเลี่ยงการถอยหลังเครื่องมือเปน
                    ระยะทางยาวสําหรับรถถากถางที่ลากรถขูดควรมีระยะประมาณ 4 - 6 นาที/รอบ

                                  6.4.2 จุดบรรทุก (Track Loading point) ขีดจํากัดในการบรรทุกดวยชานเดี่ยวประมาณ30
                    คัน/ชม.  จุดบรรทุกที่มีหลายชานควรจัดดําเนินการตามขนาดของการดําเนินการแยกเครื่องมือไปแตละจุด

                    สําหรับเครื่องมือบรรทุก
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43