Page 34 - Soil
P. 34

3-12



                                 5.5.1 การทํางานกองกากแร (Slag File Operation) ในการถลุงแรและการทําอุตสาหกรรม
                    ในทองถิ่นเกื้อกูลใหเปนแหลงมวลรวมที่ดียิ่งและเปนวัสดุสําหรับทําผิว


                    6. ชานบรรทุก (Loading Ramps)

                          6.1 การใช (Use)
                          ชานบรรทุกหรือชานที่สรางโดยกุลี (Chinaman) เปนสิ่งกอสรางเรงดวนสําหรับเปนชานบรรทุกวัสดุทั้ง

                    ดินหรือหิน  ชานบรรทุกเปนสิ่งกอสรางที่สําคัญในสถานการณที่รถบรรทุกหรือเครื่องมือยกขนอื่นไมมี
                    ตัวอยางเชนเมื่อไดรับเครื่องมือขนาดเล็ก มีเครื่องยนตขนาดเล็กและรถถากถางที่สามารถรวมกองวัสดุ 300  -

                    400   ลูกบาศกหลา/วัน  เพื่อใชกอสรางหรืองานซอมบํารุง ชานการบรรทุกใชเมื่อเครื่องมือในการบรรทุกไม
                    เพียงพอ   ดังนั้นในกรณีนี้ตองไดรับรถบรรทุกเททายสมทบ โดยที่ไมจําเปนตองมีเครื่องมือบรรทุกพิเศษชาน

                    การบรรทุกอาจอยูในความรับผิดชอบในระดับกองพัน  ในการขนยายวัสดุขนาดใหญโดยมีวัตถุประสงคเพื่อให
                    เหมาะสมกับโรงงาน ซึ่งทําใหเครื่องมือเหลานั้นทํางานไดสูงสุด ชานการบรรทุกบางครั้งใชกับแหลงงานที่อยูเชิง

                    เขา ถาพื้นของแหลงดินนั้นรถบรรทุกเขาถึงแหลงงาน การทําชานบรรทุกโดยเปนการปรับแหลงวัสดุแลวยัง
                    ประหยัดการทํางานดวย

                           6.2 แบบของชานบรรทุก (Type)
                          ชานบรรทุกกําหนดใหเปนวิธีขนถายวัสดุแหลงดิน โดยการใหวัสดุยานชานบรรทุกและโดยวิธีขนดวย

                    การดันลงสูชานและใชรถบรรทุกนําวัสดุขนออกไปจากปลายของชาน
                                 6.2.1 รางลําเลียง (Chute) เปนแบบที่ปกติที่สุดในชานบรรทุก ตองการความระมัดระวังตรง

                    จุดบรรทุกโดยเฉพาะอยางยิ่งในตอนกลางคืนการกอสรางรางลําเลียงควรใหผูทําการบรรทุกสามารถ
                    สังเกตการณเครื่องมือที่กําลังบรรทุกได

























                                      รูปที่ 3.5 ผังและการพัฒนาแหลงดินใตพื้นผิวดวยรถลากตัก
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39