Page 42 - Soil
P. 42

4-3


                                 4.4.5 ความเปนพลาสติก
                                 4.4.6 ชนิดของดินที่แสดงลักษณะเดน

                                 4.4.7 สวนประกอบรองของดิน
                                 4.4.8 สัญลักษณจําแนกดิน

                                 4.4.9 หมายเหตุอื่น ๆ
                                        - จํานวนสารอินทรีย, สารเคมี หรือโลหะที่ปนอยู

                                        - ความแนน
                                        - ความขนเหลว

                                        - ความเหนียวใกลขีดพลาสติกความแข็งแรงเมื่อแหง
                                        - ตนกําเนิด (โดยลม, โดยน้ําหรือสะสมอยูกับที่)

                          ตัวอยาง
                          สี                         - น้ําตาลแกถึงขาว
                          ขนาดเม็ด                   - มวลดินเม็ดหยาบ อนุภาคใหญสุดขนาด 2 3/4 "- 3/4" มีการ

                                                        60 % ทราย 36 % ผานตระแกรงเบอร 20 โดยประมาณ

                          ลําดับขนาดเลว              - มีกรวดอนุภาคละเอียดไมพอ , ลําดับขนาดขาดหาย
                          รูปรางเม็ด                - อนุภาคกรวดมีรูปรางกึ่งกลมถึงกลม
                          ความเปนพลาสติก            - ไมเปนพลาสติก

                          ชนิดของดินที่แสดงถึงลักษณะเดน - มีลักษณะเปนกรวด

                          สวนประกอบรอง              - มีทรายเปนสวนใหญและอนุภาคละเอียดไมเปนพลาสติก
                          สัญญาลักษณะจําแนกดิน - GW
                          หมายเหตุอื่น ๆ

                                 - มีซากสัตวเล็กนอย
                                 - เมื่อแหงไมมีความแข็งแรง

                                 - แนนเมื่ออยูในสภาพที่ไมถูกรบกวน


                    5 การตรวจดวยสายตา
                          สามารถระบุสีขนาดเม็ดและรูปรางของเม็ด เม็ดดินที่เปนเม็ดหยาบและประมาณการกระจายของขนาด

                    เม็ดได การที่จะสังเกตคุณสมบัติเหลานี้จะตองทําตัวอยางใหแหงเสียกอน
                           5.1 สี

                          ในการสํารวจดินในสนาม  ถามีการคุนเคยเกี่ยวกับดินในทองถิ่นจะชวยพัฒนาสีของดินไดเปนอยางดี สี
                    ของดินจะแปรไปตามความชื่น   เมื่อระบุสีตองระบุสภาพของดินไวดวย  ตามปกติถาดินชื้นจะเห็นสีของดินตัด

                    กันชัดเจน  และสีจะจางลงเมื่อความชื้นลดลง  ในดินเม็ดละเอียด สีทึบ,เทา,น้ําตาล หรือดําบนอยูดวย บงบอก
                    วามีอินทรียวัตถุบนอยู ดวย ( OL,CH ) ในทางตางกันขาม สีสดใส เทาออน  เขียวมรกต  แดงขาว สวนใหญจะ

                    ไมมีอินทรียสารปะบน  ดินที่มีสารเคมีปะปนอยูดวยถาดินสีแดง  เหลือง   และน้ําตาลปนเหลือง  อาจเพราะ
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47