Page 14 - Soil
P. 14

2-5



                    ที่สําคัญไดแกขอมูลเกี่ยวกับธรณีสัณฐาน (Landform) ชนิดของดินและชนิดของชั้นดิน,ชั้นหิน,โครงสราง,สภาพ
                    ของน้ําใตดิน,ปริมาตรของวัสดุและปจจัยอื่นๆ ที่มีผลในการเลือกแหลงวัสดุเพื่อนําไปเปนวัสดุในการกอสราง

                                  3.3.1 การขุดเจาะชั้นรองผิว (Subsurface boring) จํานวนของการขุดเจาะชั้นรองผิวขึ้นอยู
                    กับประโยชนของแหลงวัสดุบางแหลงใชประโยชนอยางกวางขวางในขณะที่แหลงอื่นๆ ตองการเครื่องมือขุด
                    เจาะแบบธรรมดาที่ไมมีในหนวยทหาร

                                  3.3.2  เครื่องหยั่ง (Probing’s) ตามปกติประกอบดวยแทงเหล็กที่หยั่งลงไปในดิน แทงหยั่งนี้
                    อาจมีหลายขนาดอยางไรก็ตามโดยทั่วไปเปนแทงกลมหรือแทงหกเหลี่ยมที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางระหวาง

                    5/8  นิ้ว ถึง 7/8  นิ้ว การหยั่งอาจหยั่งตรงที่หมายหรือขางที่หมายก็ได การเจาะของแทงหยั่งอาจใชมือหรือ
                    เครื่องมือกล ตามปกติการหยั่งตองการหาชั้นหินวามีหรือไมภายในความลึกที่ยอมรับได การตานทานการเจาะ

                    ขึ้นอยูกับคุณลักษณะของวัสดุ ซึ่งทําใหการหยั่งไมสามารถทําไดสมบูรณแบบ เพราะหัวเจาะไมเขาซึ่งอาจทําให
                    เขาใจผิดวาเปนชั้นหินทั้งที่อาจเปนหินมนเล็ก (Cobble) หรือหินมนใหญ (Boulder)  ที่อยูในสภาพจับกันเปน

                    แผน การหยั่งขั้นตนไมควรใชระเบิดแตควรใชการตรวจสอบดวยวิธีอื่นๆ
                                  3.3.3  การเจาะดวยแรงดันน้ํา (Wash  Borings) การเจาะดวยวิธีนี้สิ่งจําเปนที่สุดไดแกทอที่

                    ทนแรงอัดหรือทอนเหล็กกลวงที่เจาะผานหนาดินโดยการกัดและแรงดันสูงของน้ําจากปมน้ําตามปกติการกัด
                    เซาะจะกัดเซาะบริเวณปลายทอทําใหดินถูกดันขึ้นมาบนพื้นผิวเพื่อเปนตัวอยางและทําการทดสอบ การเจาะ

                    ดวยแรงดันน้ําเปนการเจาะในขั้นตนเพื่อขยายในการเจาะตอไปผานหนาดินที่เปนวัสดุซึ่งอยูระหวางชั้นของดิน
                    ตัวอยางหรือไดเจาะรูผานหนาดินไปถึงชั้นหินที่เตรียมไวสําหรับเจาะอนึ่งวิธีการนี้ไมสามารถนําไปใชเจาะขั้น
                    สุดทายของการเจาะชั้นรองผิวได อยางไรก็ตามอาจนําไปใชไดเพียงเพื่ออํานวยความสะดวกกอนที่จะประเมิน

                    คาพื้นที่ครั้งสุดทาย

                                  3.3.4  การเจาะดวยสวานถอนแกน (Core  Drilling) วิธีการนี้ใชกับพื้นที่ที่ตองการตัดและ
                    ปรับปรุงโดยการเจาะตัวอยางโดยเฉพาะพื้นที่ที่สงสัย การเจาะวิธีนี้เปนวิธีการเจาะดินและเจาะตัวอยางดินแต
                    มักจะประยุกตนําไปเจาะกับพื้นที่ที่ตองปรับปรุงโดยการเจาะชั้นของพื้นหินตอจากรอยเจาะที่เจาะมาจากหนา

                    ดิน การเจาะดวยสวานถอนแกนตามปกติจะไมมีการเจาะในสนามดังนั้นจึงไมมีเครื่องมือดังกลาวในคูมือ
                                  3.3.5 สวานติดตั้งบนรถและสวานตอก (Wagon and Jackhammer drilling) สวานแบบนี้

                    ใชสวานแบบกระแทก (Percussion type drills) ขณะที่สวาน Wagon เปนสวานที่ติดตั้งอยูบนรถ สวนสวาน
                    ตอกเปนสวนที่ใชมือถือ (Handheld)  การเจาะดวยสวานประกอบดวยรูในหินและรูสํารองที่มีความคงทนใน

                    การเจาะดีเทาที่จะทนไดในการเจาะ เพราะรูสํารองนี้ใชสําหรับเจาะหินฐาน การเจาะนี้ใชประโยชนในการเพิ่ม
                    การคนหาโพรงตื้นๆ, น้ําในโพรงหินเล็กๆ และในสวนของพื้นดินภายหลังที่นําหนาดินออกจากหินฐาน

                                  3.3.6 การทดสอบแหลงดินและคู (Test pits and trenches) การทดสอบแหลงดินเปนการ
                    เปดแหลงดินโดยการขุดตามแนวดิ่งจากผิวดินสูชั้นรองผิวของวัสดุที่ตองการเพื่อทดสอบ การขุดอาจใช
                    เครื่องมือขุดที่ไมรบกวนตัวอยางของดินที่เปนวัสดุ การทดสอบแหลงดินที่สําคัญที่สุดเกี่ยวของกับการสํารวจดิน

                    และการทดสอบดิน อาจจะศึกษาคุณลักษณะของผิวดินของฐานหินดวย และตําแหนง, คุณลักษณะในลักษณะ

                    ของฐานหินที่เปนชั้นผิว คูและสิ่งที่คลายกันที่ทําหนาที่ทดสอบแหลงดินยกเวนคูนั้นตื้นโดยมีความลึกสูงกวาดิน
                    ชั้นผิว
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19