Page 13 - Soil
P. 13
2-4
เทลาดชันนอยในทิศทางเดียวกัน บริเวณใดมีชั้นฐานรากลาดชันสูงกวาพื้นผิวจมูกเขาในสวนที่เปนหินแข็งที่สุด
วางเปนชั้นอยูทําใหเกิดเปนสันเขาหรือภูเขา
3.2.2.3 รอยเลื่อน (Faults) รอยแตกพื้นผิวใดๆ สัมพันธกับการเคลื่อนที่ของหินโดย
ขนานกับทิศทางของรอยแตกเรียกวา รอยเลื่อน ขนาดของรอยเลื่อนอาจมีขนาดเล็กเปนนิ้ว หลายฟุตหรือเปน
ไมลตามรอยเลื่อนของพื้นผิว และแผกระจายอยูรอบพื้นที่ใกลกับพื้นที่ที่เกิดรอยเลื่อน บริเวณรอบขางของสวน
ที่แตกราวนี้เรียกวาเขตรอยเลื่อน (Fault Zone) ตามปกติประกอบดวยหินบดหรือผงของรอยเลื่อน (Fault
Gouge) และรอยแตกที่เปนรูปทรงหินแตกหรือหินกรวดเหลี่ยม (Breccia) จัดเปนผลิตผลของรอยเลื่อน
ระหวางที่เกิดรอยเลื่อนเคลื่อนที่ ผลกระทบของรอยเลื่อนที่สําคัญที่สุดคืองานทางดานชางเพราะวารอยเลื่อน
เปนสิ่งกําหนดเขตที่ออนแอของผิวโลก บริเวณแหลงหินโผลงายตอการคนหาโดยภาพถายทางอากาศ รอยเลื่อน
นั้นเห็นไมเดนชัด อยางไรก็ตามอาจคนหาจากการตรวจการในสนามโดยการขุดหรือจากแผนที่ธรณีวิทยา
3.2.2.4 รอยแยก (Joints) รอยแตกขนาดเล็กหรือรอยแตกที่ไมไดเคลื่อนที่ขนานกับ
รอยแตกพื้นผิวเรียกวา รอยแยก รอยแยกนั้นตัดหินตามรอยขวางของหินดวยทิศทางที่แตกตางกันและมุมที่
ตางๆกัน รูปแบบของระบบรอยแยกนั้นแบงหินออกเปนกอน
ตารางที่ 2.1 ตารางประเมินแหลงดิน
แหลงดิน
ลําดับ รายการ
1 2 3 4 5 6
1 สีของเม็ดดิน
2 ขนาดของเม็ดดิน
3 ลําดับขนาด
4 รูปรางเม็ดดิน
5 ความเปนพลาสติก
6 ชนิดของดิน
7 สวนประกอบรองของดิน
8 อื่น ๆ
รวม
3.3 การสํารวจในสนาม (Field Reconnaissance)
การสํารวจในสนามทางธรณีและการสืบคนขั้นตนหนึ่งครั้งหรือมากกวาเทาที่ทําไดกับแหลงดิน
และแหลงหินเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคเพื่อโดยรวบรวมขอมูลที่ไดมากอนวางแผนรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นผิว
และใตพื้นผิวตองมีการเตรียมการกอนโดยการสํารวจ ทหารชางรับผิดชอบในการวางแผนในการสํารวจ โดยมี
ขอมูลที่ไดจากการพิจารณาการสืบคนทางธรณีวิทยา ภูมิลักษณะวรรณา (Physiography) และลักษณะทาง
วัฒนธรรมที่เกี่ยวของกับแหลงดิน, แหลงหิน ในระหวางการสํารวจในสนามควรมีการบันทึกลงในแผนบริวารที่
เกี่ยวกับธรณีวิทยาทั้งหมดและลักษณะภูมิประเทศซึ่งอาจเกี่ยวของกับแหลงดินและแหลงหินที่เหมาะสม ปจจัย