Page 10 - Soil
P. 10

2-1



                                                         บทที่ 2


                                        การเลือกพื้นที่ (Site Selection)



                          การดําเนินการเบื้องตนและลาดตระเวนสนาม (Preliminary and field

                    reconnaissance)


                    1. การวางแผนการลาดตระเวน (Reconnaissance Planning)

                           การลาดตระเวนพื้นที่เปนสวนหนึ่งของการลาดตระเวนขั้นตน และเปนการลาดตระเวนสนามการ
                    ลาดตระเวนขั้นตนเปนการรวบรวมและพิจารณาขาวสารที่เกี่ยวของกับการเลือกพื้นที่กอนที่จะเนินการในสนาม

                    ทําใหประหยัดเวลาไดโดยกําหนดพื้นที่ในการตรวจสอบที่ชัดเจนเทาที่เปนไปได แผนในการลาดตระเวนสําหรับ
                    แหลงดินและแหลงหินขึ้นอยูกับเวลาที่มีอยูในการพิจารณาทางยุทธวิธี อยางไรก็ตาม แหลงขอมูลของวัสดุมี

                    มากมายควรกําหนดเปนเกณฑในแผนการลาดตระเวนเพื่อหาแหลงวัสดุแหลงดินและแหลงหิน ที่เปนแหลงวัสดุ
                    ที่ดีที่สุด


                    2. แหลงขอมูล (Sources of Information)

                          2.1 ขาวกรองทางยุทธศาสตร (Strategic)
                                 ขอมูลชนิดของดิน,  ประเภทของหินและตําบลของแหลงดินและแหลงหินที่มีอยูจะอยูใน

                    รายงานขาวกรองโดยหนวยขาวกรอง (Defense Intelligence Agency and Central Intelligence Agency)
                    แหลงขอมูลที่สําคัญเหลานี้จัดเปนแหลงขอมูลสําหรับแผนการลาดตระเวนระยะไกล และสามารถใชเปนพื้นฐาน

                    แผนการลาดตระเวนทางการชางกอนที่จะเขาสูพื้นที่ การวิเคราะหยุทธศาสตรทางการชางนี้ วิเคราะหโดย
                    นายทหารชาง, หัวหนาทหารชาง และหัวหนาทหารชางพิเศษในหนวยบังคับบัญชา

                          2.2 แผนที่ทางธรณีวิทยา (Geologic Maps)
                                 แผนที่นี้เปนเครื่องชวยในการคนหาแหลงดินและแหลงหินไดดี แผนที่นี้แสดงขอมูลเกี่ยวกับ
                    แหลงดินและแหลงหินที่มีอยูและยุคทางธรณีวิทยาซึ่งจะอธิบายชั้นทางระดับและมุมเอียง,  มุมลาดของชั้นหิน

                    ขอมูลที่มีอยูบนแผนที่ธรณีวิทยา เกี่ยวกับพื้นที่จะชวยลดการลาดตระเวนในสนามที่เกี่ยวของกับแหลงขอมูล
                    วัสดุในการกอสราง แตตองลาดตระเวนเพราะแผนที่ธรณีวิทยานั้นไมครอบคลุมทั้งโลก,  ขอมูลที่มีอยูจะไม

                    สมบูรณทุกประเภท ดังนั้นจําเปนตองอาศัยแผนที่ภูมิประเทศหรือแผนที่ที่มีอยู
                          2.3 แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic Maps)

                                       แผนที่ชนิดนี้บงบอกที่ตั้งแหลงดินและแหลงหิน,ลําธาร,ถนน,ทางตัด,หนาผา เสนทาง
                    ติดตอสื่อสารและลักษณะอื่นๆสําหรับแผนที่ ที่มีระยะอุธันดร 10 เมตร หรือใหญกวา,พื้นที่ผิวดินราบเรียบจะไม

                    ปรากฏบนแผนที่และลักษณะสําคัญบางแหงเชน ชองเขาแคบ, ผาตั้ง, เนินปุมและหลุมยุบอาจจะไมปรากฏบน
                    แผนที่ทั้งหมด เมื่อนําแผนที่ภูมิประเทศใชรวมกับแผนที่ธรณีวิทยาควรตีความพรอมกันบอยๆ ไมควรใชแผนที่

                    ใดแผนที่หนึ่งตีความเพียงแผนที่เดียว เนื่องจากขอมูลทางธรณีวิทยา,  แผนที่ภูมิประเทศอาจใหขอมูลอื่น  ๆ
                    มากกวาภูมิประเทศที่ระบุ แหลงหินที่ดี แตถาไดพิจารณารูปแบบภูมิประเทศ อยางละเอียดจะพบลาดชันและ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15