Page 12 - Soil
P. 12

2-3



                    3. การสํารวจทางธรณีวิทยา (Geologic Investigations)
                         การสํารวจทางธรณีวิทยาเปนงานที่กระทํากอนที่จะเริ่มงานซึ่งเกื้อกูลตอการทํางานและทําใหวิศวกร

                    ตัดสินใจที่จะพัฒนาแหลงงาน ความสําคัญของการสํารวจทางธรณีวิทยาอยูที่ความถูกตองเทาที่จําเปนไดแก
                          3.1 การสืบคน (Research)

                                 การสืบคนในการสํารวจประกอบดวยการคนควาอยางระมัดระวังจากเอกสารและเอกสารที่
                    ไมไดตีพิมพ,รายงาน,แผนที่ และบันทึกของสถานกงสุลที่ใหขาวสารบางแหลงงานหรือปญหาของแหลงงานนั้น

                    เนื่องดวยการผสมผสานระหวางขอมูลทางธรณีวิทยาและแผนที่ภูมิประเทศเปนขอมูลที่เชื่อถือได แผนที่ภูมิ
                    ประเทศมักจะสะทอนใหเห็นถึงโครงสรางทางธรณีวิทยา และสวนประกอบของหินอยางไรก็ตามลักษณะ

                    ธรณีวิทยาอาจ ไมแสดงเดนชัดบนแผนที่ภูมิประเทศแตจะแสดงเทาที่เปนไปได ขอมูลที่สําคัญในทางการชาง
                    อาจจะไดมาหรืออนุมานมาจากการศึกษาดังนี้

                                  3.1.1  ภูมิลักษณะวรรณา (Physiography)  ลักษณะภูมิประเทศที่สําคัญโดยพรรณนาถึง
                    ประวัติของภูมิประเทศเกี่ยวของกับงานชาง
                                  3.1.2  แบบของหินทั่วไป (General  rock  type) แสดงถึงแนวผลึกหรือไมเปนผลึกเปนกอน

                    หรือแนวชั้นบางๆ หินแข็งสลับหรือหินเนื้อออน, พื้นที่ทับถมของธารน้ําแข็ง

                                  3.1.3 โครงรางของหิน (Rock Structure) ไดแก แนวเท แนวระดับ, รอยคดโคงของหิน, รอย
                    เลื่อน, รอยตอ, พื้นที่เลื่อนไหล, ชนิดของดิน, ธารน้ําแข็ง, เนินตะกอนหรือดินตะกอน
                          3.2 ลักษณะภูมิประเทศและธรณีวิทยา (Topographic and Geological Aspects)

                                       ลักษณะภูมิประเทศและธรณีวิทยาซึ่งจะมีผลตอการปฏิบัติมีดังตอไปนี้
                                  3.2.1  ขอกําหนด (Assessment) การกําหนดภูมิประเทศของพื้นที่จะเปนตัวกําหนดขอมูล

                    ทางธรณีวิทยาโดยกําหนดจากรูปของการระบายน้ําจากผลของการกัดเซาะของดิน, พืชพันธุที่ปกคลุมและการ
                    ใชพื้นที่ ดวยความระมัดระวังและขอมูลที่มีอยูเทาที่สามารถทําไดเพื่อปฏิบัติงานในแหลงดินหรือแหลงหิน

                                  3.2.2 รอยคดโคง (Folds) เปนลักษณะเฉพาะของเปลือกโลกบริเวณชั้นหินทั่วไปที่ยินยอมให
                    แรงเคลื่อนไหวของโลกมากระทบทําใหเกิดการวางชั้น(Benching) และรอยคด (Crumpling) ของหิน รอยคด

                    โคงนี้จะปรากฏใหเห็นเปนบางแหงโดยเฉพาะสังเกตไดจากรอยเปดขนาดเล็กๆ แตมีหลายแหงอาจเกิดจากสัน
                    หินคอนขางแข็งทํามุมแตกตางกันใกลๆ กับหินโผล (Outcrop) สําหรับตําแหนงและมุมเทของชั้นหินนี้อยูในดิน
                    หรือ สภาพการวางตัวของชั้นหิน การตรวจสอบการะทําโดยการวัดแนวเทและมุมเอียงของรอยคดโคง มุมเอียง

                    กําหนดจากงามมุมสูงสุดที่รอยเอียงของชั้นหินทํามุมกับแนวระดับ แนวเท (Strike) เปนทิศทางของแนวเสนตรง

                    ที่เกิดจากการตัดกันของแผนระนาบชั้นหินกับแผนระนาบของแนวระดับ (Horizontal Plane) มุมเอียงแสดง
                    เปนองศาวัดเปนมุมฉากกับแนวเท ทิศทางของแนวเทกําหนดโดยเข็มทิศ จากทิศเหนือเสมอ
                                           3.2.2.1  ในรอยคดโคงที่ตอเนื่องสวนของโคงอยูดานบนเรียกวา ประทุนคว่ํา

                    (Anticlines) ในสวนที่คลายแองเรียกวาประทุนหงาย (Synclines) สําหรับประทุนคว่ําสวนที่เปนศูนยกลางของ
                    ยอดเรียกวา โดม (Dome)

                                           3.2.2.2 รอยคดโคง แนวเทแนวเดียว (Monoclonal) โครงสรางของรอยคดโคงแนว
                    เดียวไมควรปะปนกับสวนหรือโครงสรางของแนวเทของหิน คุณลักษณะเปนหินคลุมพื้นที่กวางใหญ โดยมีแนว
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17