Page 17 - Soil
P. 17

2-8



                                       กรด  (Acids) กาซคารบอนไดออกไซดและออกซิเจนรวมตัวกันเปนไอน้ําในอากาศเปนกรด
                    อยางเจือจางที่ผลกระทบตอหิน น้ําผิวดินและน้ําใตดินเกือบทั้งหมดนั้นมีฤทธิ์เปนกรด หินกรดเฉลี่ยเปนหินที่

                    คงทนตอกรด ในการทดสอบหินที่คงทนตอกรดโดยหยดกรดไฮโดรคลอไรดเจือจางลงบนผิวแตกที่สะอาดของ
                    หินถามีฟองแสดงวาหินมีผลตอกรด เชน หินปูน หินปะการังและหินออน ซึ่งรวมถึงหินทรายซึ่งมีแคลเซียม
                                      แคลเซียมคารบอเนต  (Calcium  Carbonate)เปนเชื้อประสานดวย ถากรดไฮโดรคลอไรดไม

                    สามารถหาได, ใหใชน้ําสมสายชูหรือน้ําสมที่หาไดจากรานคาหรือรานถายรูป หามหยดกรดบนเสื้อหรือบนมือ
                    วิธีที่ทดสอบไดแก ผงละเอียดสีดําของหินปูนจากหินทัฟฟหรือหินบาซอส

                                      การผุผัง (Weathering) การสลายตัวจากสิ่งใด ๆ เรียกวา การผุพัง,การผุพังโดยทั่วไปลดความ
                    แข็งแรงของหิน,ความเฉื่อยทางเคมีลดลง,ทําใหเกิดสิ่งเจือปนและเปนสาเหตุใหหินเกิดการสูญเสียการเกาะยึด

                    ติดกัน
                          5.2 ความเหมาะสมของวัสดุ (Suitability of Materials)

                                 ชางตองสามารถประเมินคาความเหมาะสมของวัสดุ สําหรับการกอสรางได, มวลรวมสําหรับ
                    งานกอสรางควรมีความแข็งอยูระหวาง 5-7 วัสดุที่แข็งเกิน 7 ควรหลีกเลี่ยงในการนําไปใชเพราะทําใหเกิดความ

                    เสียหายตอการโมวัสดุที่มีความแข็งนอยกวา 5  เครื่องมือตองมีความแข็งแรง,ทนทานตอการผุพังและความ
                    เหนียวของมวลรวมจะตองมีหลากหลายขึ้นอยูกับประเภทของการกอสรางที่คิดไว ลักษณะของสิ่งกอสรางทาง

                    ทหารในยุทธบริเวณมีอายุการใชงานสั้น ทหารชางสามารถเลือกวัสดุไดกวางขวางสําหรับนําไปกอสราง
                          5.3 การกําหนดความตองการ
                                 ปริมาณของวัสดุในแหลงจะตองประมาณการอยางระมัดระวัง ใหอยูในเกณฑที่ปลอดภัย

                    โดยเฉพาะอยางยิ่งแหลงดินใหเหมาะสมกับแรงงาน,วัสดุและเวลาในการขนยายไปยังแหลงงานใหมอุปสรรคที่

                    คาดไมถึงเชนคุณภาพ,ปริมาณของวัสดุลดลงหรือน้ําที่มีอยูอาจมีผลใหตองลดการประมาณการลง ในการ
                    ประมาณการของปริมาณของวัสดุควรจะประหยัด ปจจัยอื่นๆ ที่แนะนําไดแก เปนปจจุบันเทาที่เปนไปไดเลือก
                    แหลงที่มีปริมาตรมวลรวมมากกวามวลรวมที่ตองการปริมาตรของวัสดุเปนการประมาณการโดยการเลือกจาก

                    แหลงที่เปนพื้นราบ เชน ชั้นของแหลงหินหรือการคํานวณปริมาณโดยตรง หรือการแบงเปนสวนและนําผลรวม
                    ของแตละสวนเหลานี้มารวมกัน ความหนาของชั้นที่ตั้งฉากกับพื้นราบ การวัดปริมาตรของชั้นวัสดุที่ใชไปไมได

                    เชนหินที่ผุพังและหนาดินไมควรนํามาคํานวณรวมดวย
                                        5.3.1 วัสดุแหลงดิน (Pit Material) เมื่อสถานที่ที่เปนบอตองการถมบดอัดวัสดุแหลง

                    ดินสามารถนําไปพิจารณาในการถมโดยประมาณโดยมีปริมาตรเทากันอยางไรก็ตามเมื่อเราขนยายจากแหลงดิน
                    ที่อยูกับแหลงจะมีปริมาตรมากกวาดินกอนขุด ความลึกของแหลงวัสดุสามารถหาไดจากบิดหลามือ (สวานเจาะ

                    ดินดวยมือ) เครื่องขุดคู, เครื่องทดสอบแหลงดิน โดยมีวิธีหาปริมาตรของวัสดุไดสองวิธีดังนี้
                                                 5.3.1.1  แบบเรงดวน (Hasty  Method) โดยการทําภาพตัดขวางเปนมุม
                    ฉากกับพื้นฐาน, หาพื้นที่ภาพตัดขวางโดยเฉลี่ยแลวหาปริมาตรโดยประมาณ

                                                 5.3.1.2  แบบประณีต (Deliberate  Method) แบงพื้นที่เปนรูปเยื้อง

                    (Isometric View รูปที่ 1) ของแหลงดินใหเปนระบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสี่เหลี่ยมมุมฉากดานหนึ่งยาว 20 ถึง
                    50 ฟุต กําหนดระดับความสูงที่แตกตางกันของระดับบนพื้นดินเริ่มแรกและแบงขั้นการขุด ณ มุมของสี่เหลี่ยม
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22