Page 66 - ป้อมสนาม
P. 66

6-6



               สร้างให้เสร็จสมบูรณ์ แนวเครื่องกีดขวางที่ซ้อนๆ กันนี้ จะบังคับให้ข้าศึกต้องใช้ก าลัง และปรับรูปขบวนไม่หยุด
               หย่อน จึงท าให้ข้าศึกต้องกระจายก าลังออกไปซึ่งท าให้เกิดผลดีกับฝ่ายเรา

                      2.10 จัดให้มีช่องทางและช่องว่างที่ซ่อนพราง  ( Provide Concealed lanes and gaps )

                               ไม่ว่าเราจะใช้เครื่องกีดขวางเป็นแนว  (  belt),  แถบ  (bands)  หรือพื้นที่  (Zones)  ตามกว้าง
               ด้านหน้าของที่มั่น หรือพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งก็ตาม จะต้องมีช่องทางหรือช่องวางผ่าน ระบบเครื่องกีดขวางนั้น
               มิฉะนั้นแล้วจะขดขวางการปฏิบัติงานของฝ่ายเรา     ช่องทางเหล่านี้มีไว้เพื่อให้พวกลาดตระเวนตีโต้ตอบ และใน
                            ั
               บางกรณีการรุกโดยทั่วไปอาจเคลื่อนที่ผ่านระบบเครื่องกีดขวางไปได้ โดยไม่ต้องเจาะช่องเป็นสิ่งส าคัญอย่างที่สุดที่
               ช่องทางทั้งสิ้นจะต้องปิดกั้นเมื่อคาดว่าข้าศึกจะเข้าปฏิบัติการ จงระมัดระวังอย่าให้เครื่องกีดขวางที่ท่านใช้นั้น
               ขัดขวางการเคลื่อนที่ของท่านเอง เพราะว่าถ้าเป็นดังนั้นแล้วก็เท่ากับว่า เครื่องกีดขวางนั้นท าประโยชน์ให้แก่ข้าศึก.

               3. การคุ้มครองเครื่องกีดขวาง

                       เครื่องกีดขวางทุกชนิดจะมีประสิทธิภาพมากที่สุด จ าเป็นต้องคุ้ม ครองด้วยอ านาจการยิงเพื่อมิให้ท าลาย
               หรือรื้อถอน โดยใช้ ปก .,  ปตถ.  ฯลฯ ตามธรรมดาเป็นหน้าที่ของหน่วยทหารที่ยึดพื้นที่นั้นหรือทหารที่ได้รับมอบ
               หน้าที่ท าการคุ้มครองป้องกัน  ซึ่งมีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนที่มีอาวุธยิงฉกรรจ์ มีการติดต่อสื่อสารดีพอ
                       ทหารช่างสนามที่ได้สร้างเครื่องกีดขวางขึ้นเฉพาะแห่ง และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมจะต้องคุ้มครองเครื่อง

               กีดขวางนั้น ๆ ไว้ก่อน แล้วจึงมอบให้ทหารเหล่าอื่นรับหน้าที่คุ้มครองแทนทหารช่าง เพื่อให้ทหารช่างปฏิบัติงานช่าง
               อื่น ๆ ต่อไป

               4. ลักษณะที่ตั้งอาวุธเพื่อคุ้มครองเครื่องกีดขวาง

                      4.1 ต าบลที่ตั้ง ปก., ปตถ. และยามเฝ้าเครื่องกีดขวาง     จะต้องมีการพรางและสามารถคุ้มครองเครื่องกีด
               ขวางการยิงตั้งแต่ระยะใกล้จนถึงระยะปานกลาง
                       4.2 ต าบลที่ตั้งของพลปืนเล็ก      อยู่ข้างหน้าที่ตั้ง ปก. และ ปตถ. พลปืนเล็กท าหน้าที่คุ้มครองเครื่องกีด

               ขวางด้วยการยิงและป้องกันมิให้ที่ตั้งอาวุธกลถูกจู่โจม โดยแจ้งการเข้ามาของข้าศึกโดยด่วน
                      4.3 ต าบลที่ตั้ง ปก.30 และ ปก. 50  ควรอยู่ห่างจากเครื่องกีดขวางประมาณ 300  - 600 ม. มีพื้นการยิง
               รุนแรงและตรวจการณ์เห็นเครื่องกีดขวางได้ทั้งกลางวันและกลางคืนหรือเมื่อทัศนวิสัยเลว
                      4.4 ต าบลที่ตั้ง คจตถ.ควรอยู่ห่างจากเครื่องกีดขวางประมาณ 100 - 200 ม.

                      4.5 ต าบลที่ตั้งอาวุธหลายขนาด ควรห่างกันไม่ใกล้กว่า  40 ม. เพื่อมิให้เป็นอันตรายร่วมกันและควรมีที่ตั้ง
               ส ารองของอาวุธแต่ละชนิดไว้ด้วย

               5. การเตรียมการสร้างเครื่องกีดขวาง
                      การเตรียมการสร้างเครื่องกีดขวาง มักมีเวลาเตรียมการน้อยเสมอ และมักกระท าอย่างเร่งด่วน ให้

               เหมาะสมกับสถานการณ์โดยทั่วไปแล้ว มีรายการที่   ต้องจัดท าในการเตรียมการดังนี้.-
                      5.1 การก าหนดที่ตั้งเครื่องกีดขวางต่างๆตามธรรมดาก าหนดที่ตั้งในแผนที่ประกอบกับข่าวสาร
               ที่ได้ทราบ  และสอดคล้องกับแผนการต่างๆ ของหน่วย

                      5.2 ก าหนดความเร่งด่วนในการจัดสร้างเครื่องกีดขวางต่างๆเหล่านั้นตลอดจนช่องว่างและช่องทาง
                      5.3 ปฏิบัติการตรวจภูมิประเทศโดยละเอียด แล้วก าหนดที่ตั้งแน่นอน
                      5.4 จัดการในเรื่องก าลังงาน ได้แก่ แรงงาน เครื่องมือเครื่องใช้ เวลาที่ต้องใช้และการส่งก าลัง
                      5.5 การมอบงานให้แก่หน่วยรอง ก าหนดก าลังและวิธีการในการป้องกัน       และการให้ความ

               ปลอดภัยแก่แรงงานที่ปฏิบัติการสร้าง ที่รวมเครื่องมือเครื่องใช้ และเครื่องกีดขวางที่สร้างเสร็จแล้ว
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71