Page 476 - วิชายุทโธปกรณ์สายช่าง ชั้นนายพัน
P. 476
13-2
13.4 หลักปฏิบัติ 7 ประการในการใช้สิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุง
13.4.1 ต้องเตรียมการล่วงหน้า เป็นที่เชื่อได้แน่นอนว่า ผู้บังคับบัญชาจะสามารถใช้สิ่งชี้บอกการ
ปรนนิบัติบ ารุง โดยมิได้รับค าแนะน าล่างหน้ามาก่อนไม่ได้ ดังนั้น ผู้บังคับบัญชาจึงควรได้รับการปฐมนิเทศ
(ORIENTATION) จากเจ้าหน้าที่เทคนิคของตนก่อน โดยใช้สิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุงเป็นแนวทาง ดังนั้น
จะเห็นว่า สิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุง ก็คือ เครื่องช่วยความจ าก่อนท าการตรวจที่จะปฏิบัตินั่นเอง
13.4.2 หาแนวทางในการตรวจ โดยจะเริ่มจากการดูสถิติ (ตรวจทางธุรการ) หรือดูที่ตัวยุทโธปกรณ์
13.4.3 สิ่งชี้บอกมีมากมายหลายอย่าง แนวทางจะน าไปตรวจแต่ละครั้ง ให้ตั้งความมุ่งหมายไป
ก่อนว่าจะเพ่งเล็งในเรื่องอะไร แล้วก าหนดจุดตรวจขึ้น 2 - 3 จุด ไม่จ าเป็นจะต้องใช้สิ่งชี้บอกทุกอันต่อ
ยุทโธปกรณ์ประเภทใดประเภทหนึ่ง โดยเฉพาะ ตัวอย่างเช่น สมมุติว่าท่านเป็นผู้บังคับการกรม หรือหัวหน้า
กอง จะท าการตรวจกองร้อย ช.สนาม ท่านอาจจะเลือกยุทโธปกรณ์มา 1 หรือ 2 อย่าง แล้วตรวจสิ่งชี้บอก
ทุกจุดตามที่ก าหนดไว้ในคู่มือของยุทโธปกรณ์หนึ่ง หรือท่านอาจตรวจยุทโธปกรณ์ให้มากอย่าง แต่ควร
ตรวจเฉพาะสิ่งชี้บอกเพียงหนึ่งหรือสองจุดเท่านั้นจะเห็นได้ว่า สิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุงนั้น ใช้ได้หลายวิธี
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโอกาสและเวลาที่ผู้บังคับบัญชามีอยู่
13.4.4 ในการตรวจไม่มีข้อก าหนดแน่นอนจะต้องตรวจสิ่งชี้บอก ส าหรับจุดนั้นโดยเฉพาะเจาะจง
ของแต่ละยุทโธปกรณ์ อาจจะเลือกตรวจอะไรก็ได้ สิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุงเป็นรายละเอียด และเฉพาะ
บางจุดของยุทโธปกรณ์และส่วนประกอบ ผู้บังคับบัญชาจะต้องแน่ใจว่าตนมีความรู้ในสิ่งที่ตนก าลังปฏิบัติ
อย่างจริงจัง และถ้าตนสามารถตรวจได้น้อยจุด โดยตลอดด้วยความมั่นใจแล้วจะท าให้เกิดผลดีมากกว่า
การตรวจจ านวนมาก ๆ จุด โดยตรวจไปอย่างลวก ๆ
13.4.5 ให้หลีกเลี่ยงการตรวจอย่างละเอียดละออจนเกินขอบเขต ผู้บังคับบัญชาควรหลีกเลี่ยงการ
ใช้สิ่งชี้บอกที่เป็นแบบเดียวกันอยู่ตลอดเวลา เมื่อผู้บังคับบัญชาคุ้นเคยกับยุทโธปกรณ์บางแบบดีแล้ว
อาจขยายรายการจุดตรวจที่ส าคัญ ๆ ส าหรับยุทโธปกรณ์แต่ละชนิดออกไปได้อีกแต่อย่าขยายออกไปจน
เป็นรายการหยุมหยิมเกินความจ าเป็น
13.4.6 ปัจจัยส าคัญที่สุดของสิ่งชี้บอกของสถานภาพการปรนนิบัติบ ารุง คือ สถานภาพการท างาน
ของยุทโธปกรณ์ สังเกตยุทโธปกรณ์ท างานได้ผลตามความมุ่งหมาย สิ่งส าคัญที่สุดในการแสดงสถานภาพ
ของยุทโธปกรณ์ ได้แก่ สภาพการท างานของยุทโธปกรณ์ ผู้บังคับบัญชาที่ท าการตรวจจะต้องพิจารณา
ประสิทธิภาพการท างานของยุทโธปกรณ์ว่าท างานได้ถูกต้องตามที่ได้รับการออกแบบมาหรือไม่ โอกาสที่ท า
ได้ สิ่งนี้เป็นสิ่งชี้ให้เห็นถึงความเอาใจใส่ของผู้ใช้หรือพลประจ าด้วย มีอยู่หลายโอกาสที่ยุทโธปกรณ์นั้นมอง
ดูดี (LOOK GOOD) หรือมีสภาพดี (GOOD CONDITION) แต่ใช้งานไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่า
ยุทโธปกรณ์จะท างานได้ดีก็มิได้หมายความว่า จะไม่มีข้อบกพร่องอื่นได้อีก การตรวจโดยใช้สิ่งบอกการ
ปรนนิบัติบ ารุงต่อไปอีกจะช่วยให้เกิดความมั่นใจในสภาพของยุทโธปกรณ์ และช่วยให้พบข้อบกพร่องต่าง ๆ
แต่ไม่มีผลต่อการท างานของยุทโธปกรณ์ในขณะนั้น
13.4.7 ผู้บังคับบัญชา โดยทั่ว ๆ ไปมักจะค านึงถึงว่า “ความสะอาด” การมีเครื่องมือสะอาด