Page 475 - วิชายุทโธปกรณ์สายช่าง ชั้นนายพัน
P. 475

13-1



                                                        บทที่ 13

                      สิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุง และความส าคัญในการปรนนิบัติบ ารุง


               13.1 สิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุง


                      หมายความถึง สิ่งที่ใช้ในการแสดงลักษณะ หรืออาการส าคัญของยุทโธปกรณ์, สิ่งอุปกรณ์ และ
               สิ่งอ านวยความสะดวกต่าง ๆ ว่าได้รับการปรนนิบัติบ ารุงมากน้อยเพียงใด และสมบูรณ์หรือไม่

               13.2 ความส าคัญของสิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุง

                      สิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุง กระท าโดยการเลือกจุดต่าง ๆ เพื่อท าการตรวจ โดยพิจารณาจากชื่อ

               ของมัน แสดงให้เห็นว่าเป็น “สิ่งชี้บอก” เท่านั้น แต่มิได้เป็นสิ่งประกันจากการปรนนิบัติบ ารุงยุทโธปกรณ์
               นั้น ๆ จะอยู่ในสภาวะที่สมบูรณ์ การใช้สิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุงนี้เป็นแบบหนึ่งของการสุ่มตัวอย่าง

               (SAMPLING TECHNIQUE) เพราะถ้าจะท าการตรวจยุทโธปกรณ์ทั้งหมดจะต้องเลือกตรวจเป็นจ านวน

               เท่าใด ในเรื่องของสิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุงควรใช้หลักการทางสถิติ เข้าประกอบด้วยว่าจะเลือกตรวจ

               ตรงจุดใดบ้าง เท่านั้น สิ่งชี้บอกแบบนี้มุ่งหมายจะให้ผู้ที่มิใช่ผู้ช านาญการโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บังคับบัญชา
               ได้น าเอาไปใช้ แต่มิได้หมายถึงว่า เมื่อตรวจโดยวิธีนี้แล้ว จะไม่ต้องท าการตรวจยุทโธปกรณ์ทางเทคนิคโดย

               ช่างเทคนิคอีก

               13.3 เหตุผลที่ต้องใช้สิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุง มี 3 ประการ คือ

                      13.3.1 เป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชา ที่จะต้องท าการตรวจยุทโธปกรณ์ในความรับผิดชอบเพื่อ

               ต้องการหาข่าวสาร และน ามาประเมินค่าการซ่อมบ ารุงของหน่วย เพื่อปัจจัยซึ่งเป็นผลกระทบกระเทือน
               ต่อการช่วยบ ารุงและการด าเนินการ แนวโน้มของกองทัพบกที่ว่า การตรวจสอบสภาพภายนอกทั่ว ๆ ไป

               ของยุทโธปกรณ์นั้น เป็นสิ่งจ าเป็นที่จะต้องกระท าเช่นเดียวกับการตรวจการท างานของยุทโธปกรณ์ซึ่งเป็น

               หน้าที่ของผู้ช านาญการ และอยู่นอกเหนือขีดความสามารถ หรือนอกกิจกรรมของผู้บังคับบัญชา อาจกล่าว

               ได้ว่าประสิทธิภาพของหน่วยขึ้นอยู่กับการตรวจสอบของผู้บังคับบัญชา ไม่ว่าจะอยู่ในระดับใด

                      13.3.2 ผู้บังคับบัญชา มิใช่เป็นผู้ช านาญการหรือเจ้าหน้าที่เทคนิค ในทางปฏิบัติการตรวจของ
               ผู้บังคับบัญชา จะต้องมีขอบเขตจ ากัด ถ้าพิจารณาถึงความยุ่งยากซับซ้อนของยุทโธปกรณ์สมัยปัจจุบัน

               ซึ่งต้องใช้ความรู้ ความช านาญหลาย ๆ ด้านอย่างละเอียดแล้ว ในการปฏิบัติจึงเป็นไปไม่ได้เลยที่จะ

               ก าหนดให้ผู้บังคับบัญชารู้ในรายละเอียดทางเทคนิค และวิธีการที่จะตรวจสอบ ดังนั้นสิ่งชี้บอกการปรนนิบัติ

               บ ารุง จึงเป็นสิ่งที่จะแก้ปัญหานี้ให้แก่ผู้บังคับบัญชาได้
                      13.3.3  ปัจจัยเกี่ยวกับเวลาและภารกิจอื่น ๆ ผู้บังคับบัญชาไม่คอยจะมีเวลามากนักที่จะสนใจ

               เฉพาะเรื่องนี้ เพราะภารกิจอื่นมีมาก และถึงแม้ว่าผู้บังคับบัญชาจะเป็นผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิค แต่ตามปกติ

               จะไม่มีเวลาพอที่จะท าการตรวจยุทโธปกรณ์แต่ละชิ้น โดยละเอียดได้ ดังนั้นสิ่งชี้บอกการปรนนิบัติบ ารุง

               เครื่องมือแก่ผู้บังคับบัญชา ในการเลือกตัวอย่างจากจุดที่สามารถมองเห็นได้ขึ้นมาท าการตรวจ
   470   471   472   473   474   475   476   477   478   479   480