Page 449 - วิชายุทโธปกรณ์สายช่าง ชั้นนายพัน
P. 449
9-8
9.14 การปรนนิบัติบ ารุง
การปรนนิบัติบ ารุง จะต้องท าตามระยะเวลาที่ก าหนดอย่างเคร่งครัด และใช้น ้ามันให้ถูกต้องตาม
คู่มือที่ก าหนด การปรนนิบัติบ ารุงที่สมบูรณ์ถูกต้อง เคร่งครัด จะท าให้เครื่องมือช่างมีอายุการใช้งานยืน
ยาวนาน และอยู่ในสภาพใช้งานได้ตลอดเวลา ไม่เสียหายก่อนก าหนด อีกทั้งยังสามารถปฏิบัติงานได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุด ท าความสะอาดหัวรับไขก่อนและหลังอัดไขข้นทุกครั้ง ท าความ
สะอาดช่องเติมน ้ามันต่าง ๆ และบริเวณก้านวัดน ้ามันก่อนท าการตรวจ ส าหรับการใช้งานในภูมิประเทศ
ที่ร้อนจัด มีฝุ่นมาก เปียกชื้น จะต้องเพิ่มการปรนนิบัติบ ารุง ให้การหล่อลื่น และดูแลรักษาให้มากขึ้นกว่า
ที่ก าหนด ไว้ตามสมควร
9.14.1 ข้อควรปฏิบัติในการใช้งาน 40 ชั่วโมงแรกของเครื่องยนต์
ห้ามเร่งเครื่องยนต์จนสุด (2,000 รอบ/นาที) ห้ามเร่งเครื่องยนต์ โดยกระทันหัน ห้ามใช้งาน
เครื่องยนต์จนเกินก าลัง
9.14.1.1 การปรนนิบัติบ ารุง เมื่อครบ 40 ชั่วโมงแรก
9.14.1.1.1 เปลี่ยนน ้ามันเครื่องในห้องเพลาข้อเหวี่ยง
9.14.1.1.2 ตรวจท าความสะอาดตัวกรองน ้ามันเชื้อเพลิง
9.14.1.1.3 ตรวจความตึงสายพานพัดลม (ประมาณ 1 เซนติเมตร)
9.14.1.1.4 ตั้งความเร็วรอบเครื่องยนต์เดินเบา (750 - 800 รอบ/นาที)
9.14.1.1.5 ตรวจระดับน ้ามันเครื่องในห้องปั้มหัวฉีด
9.14.1.1.6 ตรวจขันน๊อตฝาสูบเครื่องยนต์
9.14.1.1.7 ตรวจการรั่วซึมของน ้ามันไฮดรอลิกตามข้อต่อต่าง ๆ ในระบบ
บังคับเลี้ยว
9.14.1.1.8 ตรวจการรั่วซึมในการเติมลมของล้อ (9 ล้อ)
9.14.1.1.9 ตรวจความตึงของโซ่ขับ (หย่อนไม่เกิน 3/8 นิ้ว)
9.14.1.1.10 ตรวจขันน๊อต และสิ่งหลวมคลอนต่าง ๆ ให้แน่น
9.14.2 การปรนนิบัติบ ารุงทุก 10 ชั่วโมง
9.14.2.1 ตรวจระดับน ้ามันเครื่องในห้องเพลาข้อเหวี่ยงของเครื่องยนต์ อยู่ที่ขีด FULL ของ
เหล็กวัด
9.14.2.2 ตรวจความเรียบร้อยของหม้อกรองอากาศ, น๊อตยึด
9.14.2.3 ตรวจเติมน ้าในหม้อน ้ารังผึ้ง ระดับต ่ากว่าส่วนล่างของคอหม้อน ้าประมาณ 2
ซม.
9.14.2.4 ตรวจระดับน ้ามันไฮดรอลิก เมื่ออุณหภูมิต ่า (ก่อนติดเครื่อง) ระดับอยู่ที่ ขีดด าบน
9.14.2.5 ตรวจระดับน ้ามันเชื้อเพลิง ดูที่เครื่องวัด และเปิดฝาถัง
9.14.2.6 ตรวจสอบ ปั้ม และหม้อสุญญากาศ