Page 34 - ท่าเรือและท่าเทียบเรือ
P. 34

2-10

                                    ตารางที่ 2.3  พื้นที่ต้านลมเฉลี่ยของเรือน้ำลึกลำเลียงสัมภาระ ( A )

                                      เรือ LIBERTY........................................................3600 ตารางฟุต
                                      เรือ VICTORY........................................................4200 ตารางฟุต

                                      เรือ C - 4 ...............................................................5000 ตารางฟุต

                                                 ตารางที่ 2.4  เบ็ดเตล็ดที่ควรทราบ

                                                                 ุ
                                     น้ำหนักของคอนกรีต 1 ลูกบาศก์ฟต  =  150  ปอนด์
                                     ความแข็งแรงของโซ่สมออย่างน้อย   = 3.2 เท่าของแรงทั้งสิ้นที่ทำต่อเครื่อง
                                                                          ยึดหรือสมอซึ่งเท่ากับกำลังยึดของ

                                                                          สมอชนิดต่าง ๆ นั้นเอง

                                     น้ำหนักของวัตถุในน้ำเค็ม                = 0.87 เท่าของน้ำหนักของวัตถุในอากาศ
                                                    ่
                                       ิ
               ตัวอย่างที่ 2.1 แบบฝึกหัดวชาท่าเรือและทาเทียบเรือ
                                                                                              ิ
                      สถานการณ์  ท่านเป็นนายทหารประจำท่าเทียบเรือในยุทธบริเวณแห่งหนึ่ง    จะต้องพจารณาให้
               ท่าเรือนี้ปฏิบัติการในสภาพฉุกเฉินให้สามารถขนถ่ายยุทธสัมภาระได้

                      เจ้าหน้าที่ขนส่งทางทะเลได้เสนอผู้บังคับบัญชาการท่าเรือว่า เรือลำเลียงขนาด C-4   ได้ออกจากท่าใน

               เขตภายในมาแล้วและมุ่งหน้าจะเข้าสู่ท่าเรือแห่งนี้แล้ว กำหนดว่าจะเดินทางถึงท่าเรือนี้ในอีก 15 วันข้างหน้า
                      แต่ท่าเรือนี้ไม่มีสะพานเทียบเรือที่สามารถจะให้เรือลำเลียง C-4    เข้าจอดเทียบได้เลย แต่อย่างไรก็ดี

               ณ บริเวณท่าเรือนี้มีพื้นที่พอเพียง  และระดับน้ำลึกพอที่จะให้เรือนี้ทำการจอดโดยการยึดด้วยเครื่องยึดเรือ
               แบบแกว่งได้อิสระ ภายในบริเวณจากเขอนกันคลื่นเข้ามา และจากตำบลนี้    จะสามารถทำการขนถ่ายยุทธ
                                                ื่
               สัมภาระลงยังเรือขนถ่ายไปสู่บริเวณท่าเรือได้

                      1. ข่าวที่ท่านได้รับพอที่จะใช้เป็นประโยชน์ในเรื่องนี้ ณ ท่าเรือแห่งนี้คือ

                                                                                     ื่
                              1.1 ความลึกเฉลี่ยของน้ำ ณ บริเวณที่จะจอดทอดสมอได้ นับจากเขอนกันคลื่นเข้ามาแล้วลึก
               ประมาณ 50 ฟุต ในเวลามีระดับน้ำต่ำปานกลาง
                              1.2 ระดับเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำขึ้นลง 10 ฟุต เป็นเกณฑ์สูงสุด

                              1.3 ความเร็วสูงสุดของลมในบริเวณทุกทศทางประมาณ 50 ไมล์/ชั่วโมง(V)
                                                               ิ
                              1.4 ความเร็วของกระแสน้ำสูงสุด 3 น๊อต (Vc)
                              1.5 ลักษณะดินของพื้นท้องน้ำบรเวณท่าเรือเป็นดินเหนียวเกาะตัวความแน่นปานกลาง
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38