Page 35 - ท่าเรือและท่าเทียบเรือ
P. 35
2-11
2. หลังจากทำการลาดตระเวน ณ บริเวณท่าเรือนี้แล้วพบว่าวัสดุที่สามารถจะใช้ในการสร้าง
บริเวณจอดทอดสมอได้นั้น ม ี
2.1 มีทุ่นลอยที่จะใช้สร้างเครื่องยึดแบบโทรศัพท์ได้ 1 ทุ่นพร้อมด้วยข้อต่อต่าง ๆ ครบถ้วน
2.2 สมอมาตรฐานกองทัพเรือไม่มีกะ มีอยู่ 4 ตัวหนักตัวละ 10,000 ปอนด์
2.3 มีโซ่สมอใหม่ ๆ ขนาด 1 นิ้ว ยาว 90 ฟุตอยู่ 16 เส้น มีกำลังแตกหักเส้นละ 84,500
ปอนด์ และน้ำหนักเส้นละ 850 ปอนด์
2.4 โซ่สมอใหม่ ๆ ขนาด 1 3/4 นิ้ว มีอีก 12 เส้น ยาวเส้นละ 90 ฟุต กำลังแตกหักเส้นละ
259,210 ปอนด์ น้ำหนักเส้นละ 2550 ปอนด์
2.5 เหล็กเส้นสำหรับใช้กับคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 1 นิ้ว และ 2 นิ้ว ในความยาวต่าง ๆ
กัน มีใช้ได้เพียงพอ
2.6 ซีเมนต์ 350 ถุง พอที่จะผสมเป็นคอนกรีตได้ประมาณ 1.765 ลบ.ฟ.
2.7 ไม้ เชือกลวด เครื่องเหล็ก หินย่อยและทรายสำหรับใช้ผสมคอนกรีต และทุ่นลอย
เครื่องหมายต่าง ๆ มีอยู่มากพอตามความต้องการใช้
3. บงการ ให้ท่านออกแบบเครื่องยึดเรือลำเลียง C - 4 โดยพิจารณาใช้วัสดุที่มีอยู่และจงแสดงการ
ี่
คำนวณเกยวกับ
3.1 การหาจำนวน ชนิด และขนาดของสมอ
3.2 ความยาวของโซ่สมอที่ต้องการใช้
3.3 จำนวนและขนาดของทุ่นจมหากต้องใช้
วิธีทำ
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนอื่นให้หาแรงที่กระทำต่อเครื่องยึดหรือสมอทั้งหมด ตามสูตรที่ว่า
H = H + H + H
C
W
S
2
ซึ่ง H = 0.004 V A ในที่นี้ V = 50.A = 5,000 ตารางฟุต (จากตารางที่ 2 - 3)
W
2
H = 0.004 x 50 x 5,000 = 50,000 ปอนด์
W
H = 0.30 H = 0.30 x 50,000 = 15,000 ปอนด์
W
S
2
H = 900 V เมื่อเป็นการยึดแบบแกว่งได้อิสระ และ V = 3 น๊อต
C
C
C
2
= 900 x 3 = 8.100 ปอนด์
H = 50,000 + 15,000 + 8,100
= 73,100 ปอนด์
เมื่อการทอดสมอเป็นแบบแกว่งได้อิสระ ฉะนั้นแรงที่กระทำต่อสมอแต่ละตัว = 73,100 ปอนด์