Page 13 - การดาดผิว
P. 13

1-4

               3. แอสฟัลต์คัทแบค  (Asphalt Cutback)

                      เพื่อให้ง่ายและปลอดภัยในการลาดและการผสมจึงมักจะผสมแอสฟัลต์ซีเมนต์กับ  ปิโตรเลียมกลั่นชนิด

               ใดชนิดหนึ่ง  ซึ่งเรียกว่า  คัตเตอร์สต๊อค  (Cutterstock)  และผลผลิตจากการผสมของวัสดุทั้ง  2  นี้เรียกว่า

               แอสฟัลต์คัทแบค

                         3.1 ชนิดของแอสฟัลต์คัทแบค  (Types Of Asphalt Cutback)  มี

                              3.1.1 ชนิดบ่มแข็งเร็ว (Rapid-Curing = RC)      เป็นส่วนผสมของแอสฟัลต์ซีเมนต์กับเบนซิน


                              3.1.2 ชนิดบ่มแข็งเร็วปานกลาง  (Medium-Curing = MC)        เป็นส่วนผสมของแอสฟัลต์
               ซีเมนต์ กับน้ำมันก๊าส


                              3.1.3 ชนิดบ่มแข็งช้า (Slow-Curing = SC)  เป็นส่วนผสมของแอสฟัลต์ซีเมนต์กับน้ำมันชนิด
               ที่มีการระเหยช้า (ดีเซลหรือน้ำมันเครื่องบางชนิด)


                             3.1.4 Road-Oil จัดเข้าอยู่ในจำพวกแอสฟัลต์ชนิดบ่มแข็งช้า (SC)

                        3.2 ความหนืดของแอสฟัลต์คัทแบค

                              แอสฟัลต์คัทแบคพวกใหม่ที่ได้ปรับปรุงโดยเหล่า ช. ตามชนิดและขนาดความหนืดคือ

                               3.2.1 ชนิดบ่มแข็งตัวเร็ว           (RC)  -     70,250,800,3000

                               3.2.2 ชนิดบ่มแข็งตัวเร็วปานกลาง    (MC)  -     30,70,250,800,3000


                               3.2.3 ชนิดบ่มแข็งตัวช้า            (SC)  -     70,250,800,3000

                         3.3 แอสฟัลต์คัทแบคแบบเก่า   (ยังมีใช้อยู่)


                               3.3.1 ชนิดบ่มแข็งตัวเร็ว           (RC)  -     0,1,2,3,4,5

                               3.3.2 ชนิดบ่มแข็งตัวเร็วปานกลาง    (MC)  -     0,1,2,3,4,5

                               3.3.3 ชนิดบ่มแข็งตัวช้า            (SC)  -     0,1,2,3,4,5

                                      ุ
                      แอสฟัลต์คัทแบคทกชนิดเป็นของเหลวที่อุณหภูมิของห้อง        ฉะนั้นปกติแล้วจึงใช้ได้สะดวกกว่า
                                                 ้
               แอสฟัลต์ซีเมนต์ (AC) อย่างไรก็ดีก็ยังมีขอเสียอยู่บ้าง คือการใช้วัสดุไวไฟเป็นตัวคัตเตอร์สต๊อค จึงเสี่ยงต่อการ
               ลุกเป็นไฟ ฉะนั้นเราจึงมีความจำเป็นต้องทราบถึงจุดลุกไหม้ของมัน   (Flash Point)


                                   ้
                          3.4 จุดลุกไหม  (Flash Point)
                              คือ  จุดต่ำสุดของอุณหภูมิซึ่งไอระเหยจากวัสดุนั้น  ๆ  จะเกดการลุกไหม้  เราทราบได้โดยการ
                                                                              ิ
               ทดสอบหาจุดลุกไหม้

                              3.4.1 Open Tag Flash Point Test


                              3.4.2 Cleveland Open Cup Flash Point Test
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18