Page 118 - คอนกรีต
P. 118
6-7
ื
้
3.4.1 ก่อนเริ่มการทดสอบ เครื่องมอทุกชิ้นตองสะอาด จากนั้น
ท าให้ด้านในของแบบหล่อ และแท่งเหล็กชื้นน้ า
ิ
ิ
ุ
3.4.2 วางแบบหล่อบนผวเรียบที่ได้ระดับ อณหภูมอยู่ระหว่าง
15 - 27 องศาเซลเซยส จากนั้นใส่คอนกรีตประมาณ 1/3 ของแบบหล่อ
ี
จากนั้นกระทุ้งด้วยเหล็กกลม 25 ครั้ง โดยกระทงในแนวดิ่ง และกระจาย
ุ้
จุดกระทุ้งให้ทั่วหน้าตัดของแบบหล่อ
3.4.3 ใส่คอนกรีตเพิ่มในแบบหล่อประมาณ 2/3 จากนั้นกระทุ้ง
อีก 25 ครั้งในลักษณะเดียวกับครั้งแรก โดยใหปลายเหล็กกลมจมลึกลง
้
ในผิวหน้าของคอนกรีตที่เทในครั้งแรก แต่ไม่ลึกตลอดชั้นแรก
ิ
ี
็
้
3.4.4 เตมคอนกรีตใหเตมล้นกรวย จากนั้นกระทุ้งอก 25 ครั้ง
ในลักษณะเดียวกับครั้งที่สอง แล้วใช้เหล็กกลมเคาะแบบหล่อเบา ๆ
ิ
้
ึ
โดยรอบเพื่อไล่อากาศออก จากนั้นจงปาดคอนกรีตส่วนเกินออกใหผว
คอนกรีตเรียบเสมอกับปากกระบอก
่
3.4.5 ปิดปากแบบหล่อไว้ด้วยแผนปิด และป้องกันคอนกรีต
ี
ในแบบหล่อให้อยู่ภายใต้สภาพอุณหภูมิ 15 - 27 องศาเซลเซยส ส าหรับ
้
24 ชั่วโมงแรก การปล่อยใหคอนกรีตในแบบหล่อ สัมผสความร้อน จาก
ั
แดด หรืออณหภูมที่ตากว่า 15 องศาเซลเซยส จะท าใหได้ผลการ
่
้
ุ
ี
ิ
ทดสอบที่ไม่ได้มาตรฐาน
ื่
้
3.4.5 เมอคอนกรีตอายุครบ 24 ชั่วโมง ใหถอดแบบหล่อออก
และน าไปเก็บไว้ในสภาพที่ชื้น (ใหแท่งคอนกรีตสัมผสกับน้ าตลอดทั้ง
ั
้
ี
แท่งอยู่ตลอดเวลา) ที่อณหภูม 23 1 องศาเซลเซยส ตลอดเวลา
ุ
ิ
จนกว่าจะน าไปทดสอบ
3.4.6 ท าแผ่นป้ายหลักฐาน ซึ่งข้อมูลที่ควรบรรจุลงในแผ่นป้าย
มีดังนี้
จ านวนของแท่งคอนกรีตทดสอบ
……………………………………….
วันที่ทดลอง ……………………… ทดลองโดย
……………………….
ค่ายุบตัวของคอนกรีต …………… ก าลัง
ก าหนดของคอนกรีต ……….