Page 113 - คอนกรีต
P. 113
6-2
2.2.4 ไม้บรรทัด หรือเทปวัด ใช้ส าหรับวัดการยุบตัว
2.3 ขั้นตอนการทดสอบ
้
ื
2.3.1 ก่อนการทดสอบ เครื่องมอทุกชิ้นตองสะอาด จากนั้น
้
ท าใหด้านในของกรวยทดสอบ แท่งเหล็ก และถาดชื้นน้ า วางถาดบน
พื้นที่เรียบ และวางกรวยในถาด จากนั้นยืนเหยียบที่วางเหยียบเพื่อยึด
กรวยให้มั่นคง ตลอดเวลาที่ท าการทดสอบ
ั
2.3.2 น าคอนกรีตตวอย่างที่เทออกจากเครื่องผสม หรือ
รถบรรทุกคอนกรีต ในเที่ยวที่สาม หรือมากกว่า หามใช้คอนกรีตจาก
้
การผสมเที่ยวแรก หรือเที่ยวสุดท้าย ใส่ลงในกรวยประมาณ 10 ซม.
(1/3 โดยปริมาตร) จากนั้นกระทุ้งด้วยเหล็กกลม 25 ครั้ง โดยกระทุ้ง
ในแนวดิ่ง และกระจายจุดกระทุ้งให้ทั่วหน้าตัดของตัวอย่างคอนกรีต
2.3.3 ใส่คอนกรีตเพิ่มในกรวย ประมาณ 20 ซม. (2/3 โดย
ุ้
ปริมาตร) จากนั้นกระทงอีก 25 ครั้ง ในลักษณะเดียวกับครั้งแรก โดยให ้
่
ปลายเหล็กกลมจมลึกลงในผวหน้าของคอนกรีตที่เทในครั้งแรก แตไม ่
ิ
ลึกตลอดชั้นแรก
2.3.4 เติมคอนกรีตให้เต็มล้นกรวย จากนั้นกระทุ้งอก 25 ครั้ง
ี
ในลักษณะเดียวกับครั้งที่สอง แล้วใช้เหล็กกลมปาดคอนกรีตส่วนที่ล้น
้
ั
เกินปากกรวยออกใหเรียบ เสร็จแล้วใหก าจดเศษคอนกรีตที่หกอยู่
้
บริเวณฐานกรวยออก
ั
2.3.5 ค่อย ๆ ยกกรวยขึ้นในแนวดิ่งอย่างระมดระวัง อย่าให ้
กรวยเอยงไปชนหรือกระเทือนตอคอนกรีตที่อยู่ในกรวย จากนั้นวาง
ี
่
กรวยลงข้าง ๆ กองคอนกรีต โดยกลับเอาด้านฐานหงายขึ้น
2.3.6 วางแท่งเหล็กราบไปกับกรวย ใหแท่งเหล็กยื่นไปอยู่
้
ิ
เหนือกองคอนกรีต จากนั้นวัดระยะค่ายุบตวเป็นนิ้ว จากผวล่างสุดของ
ั
แท่งเหล็กถึงยอดของก้อนคอนกรีตที่ได้ยุบตัวแล้ว