Page 117 - คอนกรีต
P. 117
6-6
ตารางที่ 6.2 จ านวนแท่งทดสอบ และจ านวนการทดสอบตามชนิดของ
งาน
้
่
จ านวนน้อยทีสดของแทงทดสอบ และจ านวนครังการทดสอบ
ุ
่
ิ
ชนดของงาน
(สำหรบแทงคอนกรตแตละประเภท)*
ี
่
ั
่
่
อาคาร, ค.ส.ล. ทัวไป แท่งทดสอบ 3 แท่ง ต่อวัน หรือต่อผลัด
้
ทดสอบ 1 ครัง (แท่งทดสอบ 2 แท่ง) ต่อคอนกรีต ทุกๆ 190 ลบ.ม.
่
้
ิ
ึ
คอนกรีตผสมเสร็จ ทดสอบ 1 ครัง (แท่งทดสอบ 2 แท่ง) ต่อคอนกรีตหนงชนด
้
ั
ั
ั
็
่
ื
(เมอใชกำลงเปนหลกในการรบรอง) ทดสอบ 1 ครัง (แท่งทดสอบ 2 แท่ง) ต่อการบรรทุก ทุกๆ 25 ครัง ้
้
้
้ ่
พืนถนน แท่งทดสอบ 2 แท่ง ต่อพืนที 835 ตร.ม.
่
้
่
้ ้
เชือนกันนา คอนกรีตหลาทัวไป การทดสอบ 1 หรือ 2 ครัง ต่อผลัด
,
* แท่งคอนกรีตแต่ละประเภท คือ แท่งคอนกรีตที่บ่มมาตรฐาน และแท่ง
คอนกรีตที่บ่มในสนาม
3.3 อุปกรณ์ที่ใช้ในการหล่อแท่งคอนกรีตทดสอบ
ี
3.3.1 แบบหล่อทรงกระบอก มขนาดความสูงเป็นสองเท่าของ
เส้นผ่านศูนย์กลาง ปกติที่ใช้กันจะมีขนาด 15 ซม.สูง 30 ซม.แบบหล่อ
จะเป็นแบบหล่อที่ไม่ดูดซึมน้ า อาจจะเป็นโลหะหรือกระดาษอาบพาราฟิน
ซึ่งมีพื้นรองเป็นโลหะ
่
ู
3.3.2 แท่งเหล็ก เป็นแท่งเหล็กกลมขนาดเส้นผานศนย์กลาง
1.6 ซม.(5/8 นิ้ว) ยาว 60 ซม.
3.3.3 แผนปิด แบบหล่อ ปกตจะใช้แผนแก้ว หรือโลหะ ใช้ปิด
่
่
ิ
ปากแบบหล่อเพื่อป้องกันการสูญเสียความชื้น
3.4 ขั้นตอนการหล่อแท่งคอนกรีตทดสอบ