Page 34 - ประปาสนาม
P. 34

3-8

                                                   2.2.5.7.4 ท่อน้้าช้ารุดท่อน้้าทั้งท่อหลักและท่อแยกเกิดการช้ารุด
                       สิ่งสกปรกจะเข้าไปในท่อท้าให้น้้าสกปรกได้

                                                      2.2.5.7.5 ท่อน้้าที่วางตัดกัน   การวางท่อน้้าดีและท่อน้้าสกปรกตัด
                       กัน ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ท้าให้น้้าสกปรกได้ถ้าท่อนั้นแตกหรือรั่วซึม ท่อที่ตัดกันนี้บางแห่งใช้อุปกรณ์
                       ร่วมกัน โดยใช้ประแจลิ้นแบบประตูน้้าฝ่ายตรงข้ามอาจใส่ยาพิษลงไปได้
                                                      2.2.5.7.6 ท่อที่ดูดน้้ากลับทางได้ เป็นท่อผ่านแบบหนึ่งที่ใช้กับท่อชัก

                       โครก,อ่างเก็บน้้าและอ่างอาบน้้า น้้าจะไหลจากท่อล้นออกไปปนกับน้้าดีได้ เกิดขึ้นได้โดย
                                                                -  ลิ้นของเครื่องกันน้้าเอ่อ  (Flushometer)โดยไม่ใช้เครื่องห้ามแบบ
                       สูญญากาศ

                                                                - ลูกลอยไม่ท้างานโดยจมอยู่ใต้น้้า
                                                                - วางท่อน้้ากลับทาง คือหงายขึ้น

                                     2.2.6 แหล่งน้้าฝน
                                            ในฤดูฝนหรือพื้นที่ฝนตกชุก เช่น ในเกาะเล็กๆ ในแถบโซนร้อน  น้้าฝนนับว่า

                       เป็นสิ่งส้าคัญในการด้ารงชีวิต
                                            ในการประปาสนามจัดว่าฝนเป็นแหล่งน้้าอย่างหนึ่ง ที่จะน้ามาแก้ไขได้ การ
                       น้าน้้าฝนมาใช้ก็ไม่มีอะไรเป็นพิเศษ เพียงแต่ขยายพื้นที่รองน้้าฝนให้ใหญ่ขึ้น เช่น
                                            - ขึงผ้าเต็นท์ขนาดใหญ่บนโครงไม้ให้มีมุมลาดพอที่น้้าฝนจะไหลลงราง

                       และเข้าถังน้้า
                                            - ใช้พื้นที่เก่าที่มีอยู่แล้ว เช่น พื้นคอนกรีตที่ลาดเอียง     และอยู่ในระดับ
                       สูงกว่าถังน้้า
                                            - ใช้ผ้าเต็นท์ต่อจากหลังคาของอาคารเดิม เพื่อขยายพื้นที่รับน้้าฝนให้

                       กว้างขึ้น

                              2.3 การฟื้นฟูต้าบลจ่ายน้้า  (Development of water point)
                                     ต้าบลจ่ายน้้า มีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ
                                     1) แหล่งน้้า

                                     2) ชุดท้าน้้าให้สะอาด
                                     3) เจ้าหน้าที่ที่เข้าด้าเนินการแก้ไขน้้าแล้ว
                                ค้าก้าจัดความ
                                     การฟื้นฟูต้าบลจ่ายน้้า คือ การปรับปรุงต้าบลจ่ายน้้าให้ดีขึ้นตามล้าดับ เป็นการเพิ่ม

                       ประสิทธิภาพในการแก้ไขน้้าให้สะอาด และท้าให้การแจกจ่ายน้้าได้เพียงพอกับหน่วยทหาร ตามปริมาณ
                       การจ่ายและทันตามเวลาที่ก้าหนด
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39