Page 36 - ประปาสนาม
P. 36

3-10

                              2.4 รายการฟื้นฟูที่ควรสอบทาน   โดยตั้งเป็นค้าถามขึ้นดังนี้.
                                     2.4.1  ในการลาดตระเวนที่จัดตั้งต้าบลจ่ายน้้า เป็นพื้นที่ ๆ  ต้องการฟื้นฟูน้อยที่สุด

                       หรือไม่
                                     2.4.2  แหล่งน้้านั้นเป็นแหล่งน้้าที่สะอาดและเพียงพอกับความต้องการหรือไม่
                                     2.4.3    ถ้าเป็นพื้นที่ ๆ ชื้นแฉะง่ายโดยเฉพาะบริเวณที่จอดรถรับน้้ามีการระบายน้้าดี
                       หรือไม่

                                     2.4.4  ถังน้้า,เครื่องกรอง,เครื่องสูบน้้า และอื่น ๆ ตั้งได้ระดับและอยู่ติดดินหรือไม่
                                     2.4.2  มีถังน้้าพอเพียงกับความต้องการหรือไม่
                                     2.4.6  น้้าสะอาดจะต้องรักษาความสะอาดไว้จนกว่าจะไม่จ่ายไม่ใช้เร็วหรือไม่

                                     2.4.7  การตั้งต้าบลจ่ายน้้าแห้ง (Dry point) จะลดปัญหาการแจกจ่ายน้้าได้หรือไม่
                                     2.4.8  จ้าเป็นจะต้องส่งน้้าทางท่อหรือไม่
                                     2.4.9  ต้าบลจ่ายน้้ามีการพรางหรือไม่
                                     2.4.10 จัดท้าสถิติการประปา (สนาม) ไว้ดีและเพียงพอหรือไม่

                                     2.4.11 ชุดท้าน้้าให้สะอาดและอุปกรณ์ วางผังได้ถูกต้องและเรียบร้อยหรือไม่

                              2.5 ขอบเขตการฟื้นฟู
                                     ต้าบลจ่ายน้้าจะฟื้นฟูมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับเวลา,  สถานการณ์,  แรงงาน และ
                       เครื่องมือที่ต้องใช้เช่น

                                     ต้าบลจ่ายน้้าในเขตหน้า การฟื้นฟูคงท้าได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น           แต่การผลิตน้้า
                       จะต้องพอเพียงกับหน่วยทหารด้วย ส่วนต้าบลจ่ายน้้าที่อยู่ในเขตหลังนั้น เป็นที่แน่นอนว่าการฟื้นฟู
                       จะต้องท้าได้ดีกว่า

                              2.6 ล้าดับการฟื้นฟู
                                     ล้าดับการฟื้นฟูต้าบลจ่ายน้้าจะฟื้นฟูอะไรก่อนหรือหลังอย่างไรนั้น  ขึ้นอยู่กับ

                       ความมุ่งหมาย ของต้าบลจ่ายน้้าแต่ละแห่งและสถานการณ์ทางยุทธวิธีเป็นหลัก
                                     แหล่งน้้าบางแห่งมีถนนน้อยและฝ่ายตรงข้ามเฝ้าอยู่    ให้นึกถึงความปลอดภัย
                       ในการแจกจ่ายน้้าไว้ก่อน


                              ตัวอย่างของล้าดับการฟื้นฟู
                                 วันที่ 1   - จัดตั้งจุดประปาสนามและแจกจ่ายน้้าได้
                                            - จัดท้าความสะอาดแหล่งน้้า จากสวะและวัชพืช

                                            - ขุดคูระบายน้้า
                              วันที่ 2  - ใช้รถถากถางท้าวงเวียน
                                            - ติดตั้งเครื่องหมายจราจรเสร็จเรียบร้อย

                                 วันที่ 3  - ตั้งถังไนลอนอาบยางเพิ่มอีก 2 ถัง
                                            - เริ่มวางระบบส่งน้้าทางท่อให้แก่พื้นที่บริการของกองพล
                                 วันที่ 4   - จัดตั้งหอถังน้้าขนาด 1,200 แกลลอน ขนาดความสูง 3.00 เมตร
                                            - เพื่อจ่ายน้้าเวลากลางคืนภายใต้การระดมยิงของข้าศึก

                                 วันที่ 5  - เรียงกระสอบทรายรอบ ๆ เพื่อป้องกันการยิงของข้าศึก
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41