Page 30 - ประปาสนาม
P. 30
3-4
2.2.2.6 การบรรจุกรวด
เมื่อชั้นดินอมน้้าไม่มีวัตถุเม็ดหยาบปนอยู่ ก็ให้บรรจุกรวดลงไปรอบๆ
ตะแกรงในบ่อ เพื่อให้เกิดช่องว่างในชั้นของทรายละเอียดที่มีเม็ดเท่ากัน หรือพื้นที่เป็นโคลนหรือดิน
เหนียว
การเติมกรวดลงไปในบ่อเดิม อาจจะยากสักหน่อย ไม่เหมือนบ่อท ี่
เจาะขึ้นใหม่แต่ถ้าจ้าเป็นก็ให้ดึงตะแกรงก้นบ่อออกเสียก่อน แล้วสูบทรายออกจากบ่อทางเครื่องกรุ
ชั้นใน พร้อมกับการบรรจุกรวดลงไปในระหว่างเครื่องกรุชั้นในและชั้นนอก
2.2.2.7 การช้าระสิ่งพอกแข็งที่หัวกรองปลายท่อดูด (ตะแกรงกรอง)
กับบ่อน้้า
2.2.2.7.1 เหล็กหรือแคลเซียมคาร์บอเนตที่เกาะพอกแข็งอยู่กับ
หัวกรองที่ท้าด้วยทองเหลือง, บรอนซ์ หรือ เหล็กไร้สนิม สามารถก้าจัดได้ด้วย ใช้กรดก้ามะถัน หรือ
น้้ายาที่มี กรดตั้งแต่ 10 - 25 % กัดออก
วิธีท้า - ให้หย่อนท่อเติมกรดดังกล่าวลงไปก้นบ่อจนถึงตะแกรง
ที่หัวกรองแล้ว เท, สูบ หรือ ฉีด กรดลงไป
- ดึงท่อเติมกรดออก ปล่อยทิ้งไว้ 2 - 5 ชม. (ขึ้นอยู่กับความ
เข้มข้นของกรด)
- สูบน้้าออกจากบ่อจนค่า PH ของน้้าในบ่อสู่สภาพเดิม
- ท่อเติมกรดเมื่อใช้แล้วให้ท้าความสะอาดทันที
ข้อควรระวัง ระหว่างใช้กรดต้องเตรียมน้้ายาโซเดียมคาร์บอเนตไว้ใกล้ ๆ ถ้าเกิดพลา ดพลั้ง
เช่น กรดหกรดมือ, เสื้อผ้า หรือ อื่น ๆ จะได้ใช้ราดได้ทัน
2.2.2.8 การใช้ระเบิดด้วยเชื้อปะทุ
วิธีนี้จะใช้ได้ผลกับบ่อน้้าลึกๆ ที่ที่เป็นหินแข็งและเปราะเช่น
หินปูน เพื่อเพิ่มปริมาณน้้า ถ้าบ่อเป็นหินปูนชนิดอ่อนและเหนียวจะไม่ค่อยได้ผล
แรงระเบิดจะท้าให้หินหรือทรายที่เกาะอยู่รอบ ๆ ตะแกรง
กรองหลุดออกจากตะแกรง เป็นการเพิ่มปริมาณน้้า เพราะน้้าไหลสะดวกขึ้น
วิธีท้า ให้ต่อเชื้อปะทุห่างกัน 2 ฟุตต่อดอก หย่อนลงไปก้นบ่อในทาง
ดิ่งจนถึงก้นบ่อ
2.2.2.9 การสร้างบ่อรวม
ในกรณีที่ใช้น้้าจากบ่อน้้าเดียวไม่พอ อาจท้าการเชื่อมบ่อ
ต่าง ๆ มารวมกันเพื่อเพิ่มปริมาณน้้า การกระท้าแบบนี้ อาจมีข้อเสียคือ
- ถ้าบ่อน้้าอยู่ห่างกนมากจะเสียเวลามาก
ั
- ถ้าบ่อน้้าใกล้กันจนเกินไปอิทธิพลของน้้าใต้ดินของแต่ละ
บ่อ จะทับซ้อนกันท้าให้เกิดผลเสียขึ้นได้ เพราะระยะตกของระดับน้้าใต้ดินที่ต่างระดับกัน
ข้อดีของบ่อรวม ท้าให้ได้ผลประโยชน์ของชั้นน้้าที่ต่อเนื่องกัน และท้าหน้าที่
ป้องกันน้้าเกลือในดิน ที่อยู่ต่้ากว่าชั้นน้้าจืด