Page 28 - ประปาสนาม
P. 28

3-2

                              2.2 แบบของการฟื้นฟูแหล่งน้้าชนิดต่าง ๆ

                                     2.2.1 แหล่งน้้าบนดิน
                                            แหล่งน้้าบนดินเป็นแหล่งน้้าที่ฟื้นฟูง่ายที่สุด   บางแห่งเพียงใช้เครื่องมือ

                       ธรรมดาที่มีในชุดประปาก็ฟื้นฟูได้แล้ว
                                            การฟื้นฟูแหล่งน้้าบนดินนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อต้องการให้มีการดูดน้้าดิบได้
                       ตามปริมาณที่ก้าหนด  เช่น  หัวกรองปลายท่อดูดควรอยู่ในจุดที่ใสที่สุด

                                            - ใต้ผิวหน้าน้้าลงไปพอสมควร  (ไม่ให้ดูดอากาศหรือสวะบนผิวน้้า)
                                            - อยู่เหนือแหล่งน้้าที่ท้าให้น้้าสกปรกต่าง ๆ มีวิธีการฟื้นฟูดังนี้.
                                            2.2.1.1 แบบหลุมมี 2 แบบ คือ
                                                           2.2.1.1.1  ถ้าพื้นท้องน้้าเป็นดินเหนียว  ให้ขุดหลุมด้วย

                       เครื่องมือธรรมดาให้ลึกตามต้องการแล้ววางกรวดหรือหินลงที่ก้นหลุม วางหัวกรองปลายท่อดูลงบน
                       กรวดหรือหิน หรือจะใช้กลบหัวกรองด้านบนด้วยก็ได้ ถ้าไม่มีเวลามากนัก จากผิวน้้าถึงปลายท่อให้อีก
                       สัก 6 นิ้ว ก็พอ

                                                           2.2.1.1.2  ถ้าพื้นท้องน้้าเป็นโคลนหรือทราย   ให้ขุดหลุ ม
                       เช่นเดียวกับแบบแรกแต่ใช้กระป๋องหรือสิ่งอื่นที่คล้ายกันวางลงไป ให้ส่วนปากสูงกว่าพื้นท้องน้้าพอไม่ให้
                       โคลนไหลลงไปได้เวลาสูบน้้า (ประมาณ 2 นิ้ว)
                                            2.2.1.2 แบบฝายน้้าล้น

                                                           ส้าหรับแหล่งน้้าไหลขนาดเล็ก ก็ให้สร้างฝายน้้าล้นขึ้นพอให้
                       ระดับน้้าสูงพอที่จะดูดน้้าดิบได้โดยไม่ดูดอากาศหรือดูดสิ่งอื่นที่พื้นท้องน้้า
                                            2.2.1.3 แบบท้านบ หรือรอ กันสวะ
                                                           ส้าหรับล้าน้้าที่มีกระแสน้้าไหลแรง  และมีสวะบนผิวน้้ามาก

                       จนอาจจะเป็นอุปสรรคในการดูดน้้าดิบได้ ก็ให้สร้างท้านบกันสวะ หรือ ท้า "รอ" เพื่อเปลี่ยนทางไหลของ
                       สวะก็ได้
                                                            2.2.1.4 แบบทุ่นลอย
                                                           ส้าหรับแหล่งน้้าขนาดใหญ่และมีความตื้นลึกไม่เท่ากัน เช่น

                       ริมฝั่งตื้นจนไม่ลึกพอก็จะจ้าเป็นต้องต่อท่อดูดออกไปจากฝั่ง ก็ท้าให้ทุ่นลอยขึ้น โดยใช้วัสดุที่ลอยน้้าได้
                       เช่น ทุ่นไม้ไผ่, ทุ่นไม้รวก, ถังน้้ามันเปล่า, ท่อนไม้ ฯลฯ แล้วผูกไว้กับสมอ เพื่อกันลมพัดแกว่งเข้าหาฝั่ง
                       แบบทุ่นลอยนี้ บางครั้งเราใช้แหล่งน้้าที่มีค่าของน้้าไม่เท่ากันด้วย

                                            2.2.1.5 แบบกรอง  (ข้างตลิ่ง)
                                                           หากน้้าในแหล่งน้้าขุ่นมาก หรือ ไม่น่าไว้วางใจ อาจท้าให้
                       น้้าดีขึ้นได้บ้างโดยวิธีขุดบ่อกรองข้างตลิ่งขึ้น โดยขุดเป็นคูยาวขนานไปกับแหล่งน้้า ถ้าพื้นที่เป็นทราย
                       หรือดินร่วน ควรท้าผนังกันบ่อพังด้วย

                                            2.2.1.6 แบบบ่อกรองน้้าข้างตลิ่ง
                                                           มีความมุ่งหมายเหมือนกับคูกรองข้างตลิ่ง เว้นแต่เป็นการ
                       ขุดบ่อน้้าตื้น หรือบ่อตอกก็ได้
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33