Page 43 - ป้อมสนาม
P. 43
3-7
8.4 ชั้นกันน้้า ( WATERPROOF LAYER ) ท้าด้วยวัสดุที่กันน้้าได้ ชั้นนี้วางใกล้ส่วนบนที่สุดของ
เครื่องก้าบังเหนือศีรษะเพื่อให้ชั้นรับแรงกระแทกแห้ง จึงเป็นการลดน้้าหนักประจ้าของโครสร้าง
ลงด้วย
8.5 ชั้นรับแรงกระแทกชั้นบน ( TOP CUSHION LAYER )
หนาประมาณ 45 ซม. ประกอบด้วย ดินธรรมดาซึ่งมิได้อัดให้แน่นชั้นนี้รับแรงระเบิดได้มาก
เช่นเดียวกับชอคแอบชอร์เบอร์ (Shock - absorber) ของรถยนต์ซึ่งจะรับแรงกระแทกจากกระสุนปืนใหญ่ที่ถูก
ตรง ๆ ซึ่งจะระเบิด เพราะชั้นท าให้เกิดการระเบิดนั้น
8.6 ชั้นแผ่ ( DISTRIBUTION LAYER )
ประกอบด้วยไม้เส้นผ่าศูนย์กลาง 15-20 ซม.ซึ่งสานเข้าด้วยลวดเป็นรูปเสื่อหรือถ้าไม่ใช้ลวดสาน
จะใช้ตะปูจีน สลักเกลียวหรืออื่นๆ ตอกติดกันก็ได้ เสื่อนี้จะวางอยู่ในลักษณะที่เสาอยู่ในระดับและท ามุม 90 องศา
กับตงต่าง ๆ ของหลังคา ชั้นนี้จะแผ่น้ าหนักกระแทกเพ อมิให้ชิ้นส่วนหนึ่งชิ้นส่วนใดรับน้ าหนักมากเกินไป ( พูด
ื่
ง่ายๆ คือเฉลี่ยการรับน้ าหนัก) ชั้นนี้อาจไม่มีก็ได้ ถ้าปรารถนาที่จะลดความหนาของเครื่องก าบังเหนือศีรษะลง เพื่อ
ลดภาพซึ่งตัดกับขอบฟ้าให้ต่ าลง
8.7 ชั้นรับแรงกระแทกชั้นล่าง (BOTTOM CUSHION LAYER)
มีความหนาและประกอบด้วยดินธรรมดาที่ได้จากการขุดเช่นเดียวกับชั้นรับแรงกระแทกชั้นบน
และท าหน้าที่เช่นเดียวกัน
8.8 ชั้นกันฝุ่น ( DISTPROOT LAYER )
ใช้ในเครื่องก าบังเหนือศีรษะ เพื่อป้องกันเศษดินมิให้หล่นผ่านตกหลังคาลงไปรบกวนผู้ที่อยู่ภายใน
ชั้นนี้มีความจ าเป็นเพื่อป้องกันมิให้ปืนและอุปกรณ์อื่น ๆ เปื้อนฝุ่น และป้องกันมิให้ฝุ่นรบกวนทัศนะวิสัยของผู้ที่อยู่
ภายในซึ่งจะเป็นการขัดขวางความส าเร็จในภารกิจด้วย ชั้นนี้ใช้แผ่นโลหะแผ่นสังกะสี หรือวัสดุอื่น ๆ ที่มีลักษณะ
คล้ายคลึงกัน
8.9 ชั้นกระสอบทราย ( SANBDAG LAYER )
หน้าที่ของชั้นกระสอบทรายก็คือ ท าให้ผิว เรียบเมื่อปูชั้นกันฝุ่น ชั้นนี้ประกอบด้วยกระสอบทราย
1 ชั้น
8.10 ชั้นตง
ใช้ตงขนาด 15 x 15 ซม. ถึง 20 x 20 ซม. และควรเป็นไม้เนื้อแข็ง
หมายเหตุ
ชั้นตง ไม้ที่ใช้จะก าหนดตายตัวไม่ได้ว่าจะใฃ้ไม้ขนาดเท่าใดเพราะขึ้นอยู่กับการออกแ บบว่าจะใช้
ป้องกันอาวุธขนาดใดเป็นตัวก าหนด