Page 22 - ป้อมสนาม
P. 22
2-2
ช่วยให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ของตนได้ส าเร็จ โดยมิได้รับการขัดขวางจากการยิงของปืนใหญ่ ลูกระเบิด และ
สารเคมี หรือลมฟ้าอากาศถึงแม้ว่าเจ้าหน้าที่ที่ขาดความช านาญในการสร้างจะท าให้
การก่อสร้างขัดข้องก็ตามแต่ความยากล าบากในการสร้างก็ไม่สู้จะบังเกิดบ่อยนักเพราะที่ตั้งอาจไม่อยู่ภายใต้การ
ตรวจการณ์ของข้าศึกและอาจหาหน่วยทหารซึ่งใช้เครื่องมือกลอย่างสันทัดและช านาญได้ง่าย
การเลือกที่ตั้งที่พักก าบังต่างๆ ช่วยให้ไ ด้รับการป้องกันตามที่ปรารถนาได้เป็นอย่างมากที่พัก
ก าบังที่อยู่ที่ลาดหลังเนิน ซึ่งซ่อนเร้นดีนับว่าอยู่ในที่ก าบังของธรรมชาติ ดังนั้นจึงยากแก่การตรวจการณ์ ของ
ข้าศึกในอันที่จะทราบที่ตั้ง และยากแก่อาวุธยิงของข้าศึกที่จะท าลาย
4. ความต้องการของที่ตั้งอาวุธ คูที่มั่น และที่พักก าบัง
4.1 ความต้องการในการเลือกที่ตั้ง ( Siting Requirements )
4.1.1 ต้องส าเร็จภารกิจ(Must accomplish mission)การเลือกที่ตั้งของที่ตั้งอาวุธ คูที่มั่น หรือ
ที่พักก าบังเพื่อให้ผู้ยึดครองสามารถส าเร็จภารกิจของตนได้นั้นเป็นสิ่งส าคัญประการแรกตัวอย่างเช่นที่ตั้งอาวุธ
จะต้องเลือกที่ตั้ง และทิศทางซึ่งผู้ยึดครองสามารถท าการยิงอย่างได้ผลดีที่สุดไปยังเส้นทางต่างๆที่ข้าศึกเข้ามาท ี่
อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของตน ส าหรับที่ตั้งปืนใหญ่เราจะต้องมั่นใจว่าสามารถยิงได้ทั้งมุมเงย มุมราบและที่ตั้งนี้
จะต้องง่ายแก่การที่จะย้ายไปสู่ที่ตั้งส ารองด้วยส าหรับที่พักก าบังก็จะต้องเลือกที่ตั้งให้ผู้ยึดครองสามารถส าเร็จ
ภารกิจของตนได้โดยมิได้รับการขัดขวางจากการยิงของข้าศึก
4.1.2 การสนับสนุนซึ่งกัน และกัน (Mutual Support) ที่ตั้งอาวุธควรสนับสนุนซึ่งกันและกัน
กล่าวคือที่ตั้งอาวุธควรจะสามารถสนับสนุนซึ่งกัน และกันด้วยการยิง และการตรวจการณ์ ที่ตั้งอาวุธ
ส่วนมากมักมีจุดอับกระสุน ดังนั้นจึงควรเลือกที่ตั้งให้สามารถคลุมจุดอับกระสุนซึ่งกัน และกันได้ ข้าศึกอาจ
รวมก าลังกันเข้าตีที่ตั้งอาวุธเพียงสองสามแห่ง เท่านั้น ดังนั้นที่ตั้งอาวุธอื่น ๆ ควรสามารถสนับสนุนจุดที่ถูกเข้า
ตีได้ มิฉะนั้นแล้วที่มั่นตั้งรับจะอ่อนแอต่อการทะลุทะลวงมาก
4.1.3 การตั้งรับโดยรอบตัว (All around defence) หน่วยจะต้องจัดที่มั่นของตนเพื่อเผชิญ
กับการเข้าตีของข้าศึกทุกทิศทุกทาง ความกว้างขวางของการตั้งรับรอบตัวย่อมขึ้นอยู่กับแบบของการปฏิบัติการ
, หน่วยที่เกี่ยวข้อง, และภูมิประเทศหน่วยอิสระซึ่งปฏิบัติในภูมิประเทศรกทึบ ย่อมมีความจ าเป็นในการตั้งรับ
โดยรอบตัวมากกว่าหน่วยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของก าลังส่วนใหญ่ และปฏิบัติการในภูมิประเทศโล่งแจ้ง หน่วยอาจ
ตั้งรับโดยรอบตัวในทุกทิศทุกทางจากที่มั่นจริง(Primary position) หรืออาจเตรียมที่มั่นเพิ่มเติม (
Supplementary position ) แล้วย้ายหน่วยทหารไปเพื่อเผชิญกับการปฏิบัติการของข้าศึกทางปีกหรือทาง
หลัง ดังนั้นเพื่อให้บังเกิดผลในการป้องกันได้โดยรอบตัว ในบางกรณีจึงจ า เป็นต้องสร้างที่มั่นส ารอง หรือที่มั่น
เพิ่มเติม (Alternateand/or supplementary position)
4.1.4 การซ่อนพราง ( Concealment ) การเลือกที่ตั้งอย่างเหมาะสม จะท าให้สามารถซ่อน
เร้นที่มั่นได้บางส่วน หรือทั้งหมด และเป็นความจริงที่ว่า จะเป็นผลส าเร็ จในการจู่โจมด้วยดังนั้น ข้าศึกอาจ
เข้ามาสู่การยิงอย่างไม่รู้ตัวจากที่มั่นที่ข้าศึกมองไม่เห็น การเข้าตีของข้าศึกทั้งสิ้นอาจผิดพลาดและไม่เป็น
ผลส าเร็จด้วยข้าศึกได้รับบาดเจ็บย่อมเสียขวัญ นับว่าการพรางมีคุณค่าอย่างแน่นอน ส าหรับคุณค่า
ทางอ้อม (Passive Value) ก็คือ การซ่อนเร้นจะลดผลของการยิงที่มีการเล็งลง หรือบางทีอาจพ้นจากการยิงที่
มีการเล็งลงหรือบางทีอาจพ้นจากการยิงที่มีการเล็งได้ทั้งสิ้น เราได้ทราบจากสงครามแล้วๆ มาข้าศึกมักจะไม่
ึ
รบกวนที่ตั้งอาวุธที่เด่นๆ ซึ่งตัดกับขอบฟ้าจนกว่าข้าศึกจะพร้อมที่จะเข้าโจมตี ข้าศ กจะยิงรบกวนทีละสองสาม
นัดทุกวันจนเมื่อถึงเวลาเข้าตีแล้วข้าศึกจึงจะท าลายที่ตั้งอาวุธที่เห็นได้เด่นชัดนั้นก่อน ที่ตั้งอาวุธที่เห็นได้ยาก
และซ่อนเร้นดีจะพ้นความพินาศจากการยิงโดยมีการตรวจการณ์ในที่พักก าบังจะมีการซ่อนพรางและก าบังดี ถ้า
ก าหนดที่ตั้งและทางเข้าทางด้านหลังของเนิน ภูเขา และให้ต่ าลงไปในดินให้มากที่สุดเท่าที่สามารถจะท าได้