Page 21 - ป้อมสนาม
P. 21

2-1

                                                         บทท 2
                                                              ี่
                                         การเลือกที่มั่น และที่ตั้งอาวุธเร่งด่วน



               1. แผนขั้นต้นของที่มั่น
                     โดยทฤษฏี   จะต้องวางแผนของที่มั่นอย่างละเอียดเสียตั้งแต่เริ่มแรกเพื่อให้ทุกสิ่งทุกอย่างที่เริ่มต้นขุดหรือ

               สร้างเป็นไปตามแผนขั้นสุดท้ายในที่สุด      งานทุกขั้นกระท าไปตามล าดับความเร่งด่วนที่ ผู้บังคับบัญชาก าหนด
               ล าดับความเร่งด่วนที่ผู้บังคับบัญชาก าหนดนี้อาจเป็นไปตามที่ก าหนดได้    ถ้าที่มั่นตั้งรับนั้นสร้างในยามปกติ ไม่
               มีเหตุการณ์ของสงครามบังคับ หรือเมื่อที่มั่นตั้งรับนั้นได้ถูกดัดแปลงภายหลังจากรบเพื่อการยึดครองในโอกาส

               ต่อไป  แต่ในโอกาสที่ปะทะกับข้าศึกอย่างแท้จริงแล้วทหารแต่ละคนมักจะต้องท าอย่างใดอย่างหนึ่งให้เหมาะกับ
               ตนเองที่สุด และผู้บังคับบัญชาก็จะต้องปรับปรุงป้อมสนามให้เข้าไปใกล้กับที่มั่นในอุดมคติ ( Ideal position )
               ด้วยความจ าเป็นในการที่ทุกชั้นยศจะต้องรู้หลักการของป้อมสนามเป็นอย่างดีเป็นสิ่งส าคัญยิ่ง มิฉะนั้นแล้ว
               ความสับสนจะบังเกิดขึ้นอย่างไม่สามารถที่จะหลีกเลี่ยงได้ ที่มั่นของทหารแต่ละคนจะต้องมั่นคง และเหมาะกับ

               แผนส่วนรวมของหน่วย

               2.  การปรับปรุงให้ก้าวหน้า
                      เมื่อฝ่ายเข้าตียึดที่มั่นได้และต้องการท าให้ที่มั่นที่ยึดได้มั่นคงแข็งแรง ฝ่ายเข้า ตีจะต้องเริ่มขุดโดยทันทีด้วย
               การสร้างหลุมแบบเปิดอย่างง่าย ๆ เพื่อป้องกันตนเอง และอาวุธที่มีพลประจ าแม้จะเพิ่งเริ่มปะทะกับข้าศึกก็

               ตามป้อมสนามก็มักจะต้องเริ่มทันที โดยขุดลงไปในดินเพื่อป้องกันตน หลุมเหล่านี้เรียกว่า  ที่มั่นเร่งด่วน
               แล้วหน่วยทหารเหล่านั้นก็จะค่อยๆ  ปรับปรุงที่มั่นของตนเรื่อยไปตลอดเวลาที่ยังคงอยู่ในที่มั่นเดิม งานในการ
               ปรับปรุงที่มั่นจะก้าวหน้าไปโดยล าดับจนเป็นการตั้งรับอย่างประณีต        โดยการแนะน าชี้  แจงและก ากับดูแล

               ของผู้บังคับบัญชาของหน่วยทหารช่างหน่วยนั้น

               3. ค าจ ากัดความ

                      3.1 ที่ตั้งอาวุธ( Emplacement )
                              คือ ป้อมสนามที่เตรียมไว้อันหนึ่งส าหรับ อาวุธกระบอกหนึ่ง หรือมากกว่า หรือส าหรับทหาร
               แต่ละคน หรือพลประจ าปืน  ซึ่งจะท าให้ส าเร็จภารกิจการยิง โดยมีการตรวจการณ์ , มีการซ่อนเร้น,หรือก าบัง

               จากการตรวจการณ์ของข้าศึกอย่างพอเพียง

                      3.2 คูที่มั่น ( Intrenchment )
               คือ งา นสนามอันหนึ่งซึ่งมีที่ตั้งอาวุธหนึ่งแห่งหรือมากกว่า และ หรือที่ก าบังต่าง ๆ เชื่อมต่อกันด้วยคู หรือ
               อุโมงค์อันหนึ่ง


                      3.3 ที่พักก าบัง (Shelter)
                              คือ วัตถุธรรมชาติ หรือที่สร้างขึ้น หรือสภาพของภูมิประเทศซึ่งให้การป้องกัน  แก่หน่วยทหาร
               ยุทโธปกรณ์ หรือสิ่งอุปกรณ์ให้พันจากไอพิษ การยิง การทิ้งระเบิด หรือลมฟ้าอากาศ ที่พักก าบังนี้แตกต่างกับที่ตั้ง
               อาวุธในข้อที่ว่าไม่มีภารกิจการยิงโดยธรรมดาความต้องการของที่พักก าบังคงคล้ายคลึงกับความต้องการของที่ตั้ง
               อาวุธ เพราะว่าที่พักก าบังส่วนมากมักสร้างหลังแนวต้านทานหลัก ดังนั้นจึงมักมีอิสระในการเลือกที่ตั้งมากกว่า  และ

               อาจใช้ผู้ที่สันทัดในการสร้างที่สูงกว่าได้  ที่พักก าบังให้การป้องกันมากกว่า เพราะความสามารถในการที่จะคลุมพื้นที่
               ยิงนั้นมีความส าคัญน้อยกว่าการป้องกันที่พักก าบังอาจใช้เป็นห้องยุทธการ  ที่บังคับการ การปฐมพยาบาลขั้นต้นที่
               หลับนอน ของหน่วยทหารในแนวหน้า  ศูนย์ข่าว  คลังเก็บของหรืออื่น ๆ  อีกมากมาย    ที่พักก าบังเหล่านี้       จะ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26