Page 131 - การประมาณการก่อสร้าง
P. 131

4-15

                      สมมติไว้ว่าต้องการคิดจ านวน 12 ฐาน จะเป็นจ านวนที่ต้องผูก

                      100 x (12)     =      1,200  เปลาะ
               ความยาวของลวดผูกเหล็กยาวเปลาะละ 0.40 เมตร (เส้นคู่) จะได้จ านวนความยาวของลวดผูกเหล็กที่ใช้
                      1,200 x 0.40  =       480  เมตร

                      สรุปว่าควรเพิ่มจ านวนลวดผูกเหล็กเป็น 500 เมตร น ายอดไปลงในรายการสรุปอีกทีหนึ่ง

                      4.2.2 การค้านวณจ้านวนเหล็กส่วนคาน

                              4.2.2.1 การอ่านแบบ
                                     ให้ดูรูปที่ 4.3 แสดงรายละเอียดของการเสริมเหล็กในคานดังได้กล่าวแต่ต้นแล้ว

               ว่าความเข้าใจลักษณะการเสริมเหล็ก จะท าให้การคิดหรือถอดจ านวนเหล็กออกมาได้ถูกต้อง โดยเฉพาะผู้
               จบการศึกษาใหม่ความช านาญในการอ่านแบบยังมีน้อย บางทีไม่สามารถมองงานการเสริมเหล็กได้อย่าง
                                                                       ั
                                                                ั
               กว้างขวางมองได้เพยงขอบเขตของงานที่เสริมเหล็กไม่ซบซอนนก การอานแบบบ่อย ๆ และคิดบ่อย จะ
                                                                   ้
                                ี
                                                                              ่
               ท าให้แน่ใจและสามารถแบ่งงานคิดเป็นส่วน ๆ ได้อย่างถูกต้อง
                                     ตามรูปที่ 4.3 (จ) และ (ฉ) เป็นรูปตัดทางยาวและรูปตัดทางขวางที่นามาเขียน

               เป็นแบบขยายการเสริมเหล็กในคาน โดยเฉพาะตามรูปที่ 4.3 (ฉ) รูปตัดทางขวางของคานเพยงรูปเดียว
                                                                                                ี
               ก็สามารถคิดงานเหล็กออกมาได้แล้ว ส าหรับคานที่เสริมเหล็กซับซ้อนจะเพิ่มรูปที่ 4.3 (จ) เป็นต้น
                                             ี
                                     รายละเอยดที่ปรากฏในแบบรูปตัดทั้งสองแสดงไว้ว่าคานมีเหล็ก  12 มม.
               เป็นเหล็กแกนบนจ านวน 2 เสน และขนาด  12 มม. ใช้เป็นเหล็กแกนล่างจ านวน 2 เสน รวมเหล็ก
                                          ้
                                                                                               ้
               แกนคานทั้ง 4 เส้น เป็นเหล็กเส้นตรงและมีเหล็กคอม้า  12 มม.  จ านวน 1 เส้น ส่วนเหล็กปลอกหรือ

               บางทีเรียกเหล็กลูกตั้ง ในแบบใช้อกษร “ป” ใช้เหล็ก  6 มม. เสริมเป็นระยะห่างกันเปลาะละ 15
                                              ั
               เซนติเมตร ตลอดความยาวคาน มีคานบางตัวได้ออกแบบให้เหล็กปลอกเสริมด้วยระยะถี่ในช่วงจากปลาย
               คานจนถึงส่วนที่หักคอม้า

                                     รูปที่ 4.3 (ก) เป็นรูปตัดทางยาว แสดงเพียงเหล็กเสริมที่เรียกเหล็กแกนบนและ
               เหล็กแกนล่าง  โดยให้สังเกตปลายเหล็กแกนบนด้านซ้ายของแบบ  จะงอลงแล้วทิ้งระยะลงมาประมาณ
               0.15 - 0.20 เมตร ปลายเหล็กจะงอกลับ 180 องศา สวนเหล็กแกนล่างปลายเหล็กด้านนจะงอขึ้น 180
                                                                ่
                                                                                              ี้
                                                                                                        ื่
               องศา ปลายเหล็กทั้งแกนบนและแกนล่างทางด้านขวามือ ปลายคานจะชนเสาหรือฝากไว้กับคานตัวอน
               และมีคานต่อเนื่องในฝั่งตรงข้ามของเสา การเสริมเหล็กของคานด้านหนึ่งจะสอดเข้าในเสา และเลยเข้าไป

                                                                                      ี้
               ใช้ในคานต่อเนองได้ ในกรณีที่ใช้เหล็กขนาดเดียวกัน วิศวกรจะพจารณาเรื่องนไว้แล้ว ท าให้ประหยัด
                            ื่
                                                                         ิ
               เหล็กด้วย แต่ถาขนาดเหล็กคานแตกต่างกันการเสริมเหล็กเข้าไปในคานตัวอนจะยาวประมาณ 0.50
                             ้
                                                                                    ื่
               เมตรต่อ 1 เส้น เผื่อให้เกิดความแข็งแรง โดยให้เหล็กทั้งสองคานที่ต่อเนื่องมีเหล็กซ้อน และผูกเป็นเปลาะ
               ตลอดระยะที่ดามกันนั้น
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136