Page 136 - การประมาณการก่อสร้าง
P. 136
4-20
ดังได้ทราบลักษณะของเหล็กคอม้าแล้วว่ามีความลาดคอม้าทั้งสองด้าน และความลาดคอม้า
ี้
เท่านั้นเป็นความยาวที่เพิ่มขึ้น ในรูปที่ 4.4 (ค) แสดงระยะความยาวของเหล็กคอม้าด้วยตัวอักษร ดังน
A เป็นระยะคอม้าเสริมอยู่ระดับเหล็กแกนล่าง
B’ - B’ เป็นระยะทั้งสองตอนของเหล็กคอม้า เสริมอยู่ระดับเหล็กแกนบน
C’ - C’ เป็นระยะเหล็กคอม้าที่ลาดขึ้นทั้งสองด้านของคาน
D’ - D’ เป็นระยะที่งอลง ในกรณีคิดคานที่ไม่ต่อเนื่องทางด้านขวา
F’ - F’ เป็นระยะส่วนที่งอกลับ 180 องศาทั้งสองหัว ในกรณีที่คิดคานที่ไม่ต่อเนื่องทางด้านขวา
สาหรับคานตัวอย่าง เพอให้มีความยาวเท่าเหล็กแกนบน ให้หักระยะ D’ และ F’ ด้านขวามือ
ื่
ออก
ื่
้
ส่วนรูปที่ 4.4 (ข) เป็นรูปขยายส่วนงอคอม้าด้านหนึ่งของคาน เพอเนนระยะในการคิดเพมความ
ิ่
ั
้
ยาวให้สงเกตเสนใต้คานจะห่างกันเท่ากับขนาดความลึกของคานคือ 0.40 เมตร ตามรูปแสดงระยะตั้ง
ึ
จากผิวเหล็กด้านบนจนถงผิวเหล็กด้านล่าง จะมีระยะเท่ากับนาระยะคอนกรีตหุ้มบนและล่าง 0.03 +
0.03 = 6.06 เมตรมาลบออก 0.40 - 0.06 จะเท่ากับ 0.34 เมตร ระยะความลึกระหว่างเหล็กวิ่ง
ตอนล่างและลาดคอม้าวิ่งตอนบนห่างกัน 0.34 เมตร
่
่
ั้
ฉะนนระยะความลาด 45 องศา ในสวนของเหล็กคอม้าจะยาวกว่าระยะ 0.34 เมตรแนนอน
อยากทราบว่ายาวกว่าเท่าไรนั้น โดยเขียนรูปขึ้นดังในรูปที่ 4.4 (ก) ความหมายของอักษรในรูปมีดังน
ี้
A เป็นระยะที่เขียนขึ้นโดยให้มีความยาวเท่ากับ B
B เป็นระยะความลึกที่แนวแกนบนและล่างห่างกัน
C เป็นระยะความยาวของเหล็กคอม้าที่ลาด 45 องศา วิ่งจากเสริมล่างไปเสริมตอนบน
ื่
C เป็นค่าสทธิที่ต้องการทราบเนองมาจากการเขียนรูป การเสริมคอม้าจะมีระยะเกินกว่า
ุ
ระยะ ตั้งเท่าใด
วิธีเขียนรูป ตามรูปที่ 4.4 (ก)
1) หาโต๊ะพื้นเรียบที่มีมุมของโต๊ะได้ฉากวัดระยะ B ยาว 0.34 เมตร ท าที่หมายด้านที่วัดไว้
2) จากมุมโต๊ะที่วัดให้วัดมาทางมุมโต๊ะอีกด้าน ให้ท าแนวได้ฉากกับแนวแรกด้วยระยะ A ให้ยาว
0.34 เมตรเช่นเดียวกัน ท าที่หมายด้านที่วัดนี้ไว้
3) โยงปลายที่วัดซึ่งอยู่ในแนวตั้งฉากกัน จะได้ระยะ C
4) ในเส้นลาด 45 องศาหรือระยะ C น จากปลายเสน A ทางขวา วัดระยะ A ให้ยาวตาม
ี้
้
แนวลาดคอม้าด้วยระยะ 0.34 เมตร หรือใช้วิธีวาดโค้งที่ระยะ A ตัดกับเส้น C