Page 90 - การดาดผิว
P. 90

6 - 8

                       10. ในช่อง N (การปรับความคงทนเป็นกิโลกรัม)
                                                                           1”
                              ถ้าตัวอย่างที่ทดลองไม่ได้ขนาดความหนามาตรฐาน 2  /  และก็มีความจำเป็นที่จะหาความ
                                                                             2
                                                                                                1”
               คงทนของตัวอย่างที่ทดลอง เพื่อทราบน้ำหนักที่จะทำให้ชิ้นตัวอย่างเสียหายในขนาดความหนา 2  /  จริง ๆ
                                                                                                   2
               ซึ่งโดยธรรมดาก็ทราบกันดีอยู่แล้วว่าเส้นผ่าศูนย์กลางของชิ้นตัวอย่างทั้งหมดคอ  4”  ดังนั้นความหนาของชิ้น
                                                                               ื
               ตัวอย่างจึงเปลี่ยนปริมาตรของชิ้นตัวอย่างที่ทดลองโดยตรง   ซึ่งจะต้องได้มีการพิจารณาหาความหนาของชิ้น

               ตัวอย่างที่ทดลอง  โดยใช้ตารางที่  6-6  (อัตราส่วนสัมพันธ์ของความคงทน)  ซึ่งจะพบว่าในตัวอย่าง  6D  นั้น  มี

                                                                7”
               ปริมาตรเท่ากับ 496 ลบ.ซม. (ช่อง F) มีความหนาเพียง 2  /      เท่านั้น ซึ่งหนาน้อยกว่า 2  /  (ช่อง C)
                                                                                               1”
                                                                                                  2
                                                                   16
                                                1”
               ซึ่งถ้าหากว่าชิ้นตัวอย่างนี้ความหนา  2  /   ก็จะทำให้มีความคงทนมากขึ้นกว่า  ดังนั้นความคงทนก็จะเพิ่มขึ้น
                                                  2
               จาก  1045.45  กิโลกรัม  โดยอัตราความสัมพันธ์  1.04  ซึ่งได้จากตารางที่  6-6  สำหรับปริมาตรตัวอย่าง  496
               (ช่อง F) ควรจะได้ค่าที่ปรับแล้วคือ 1045.45 X 1.04 =1,087.27 กิโลกรัมลงในช่อง N
                      11. ในช่อง O (การไหล)
                              ค่าการไหลวัดได้ในอัตรา 1/100 นิ้ว (0.0254 ซม.) ซึ่งจะวัดในขณะที่ตัวอย่างรับแรงอัด (หรือ

               น้ำหนักสูงสุด และสำหรับชิ้นตัวอย่าง 6D นี้วัดได้ 12


               7. การพิจารณาหาปริมาณแอสฟัลต์ที่เหมาะ (OAC)

                      ตารางที่  6-2  ตัวอย่างอันหนึ่งเกี่ยวกับการพิจารณาหาคุณสมบัติของมาร์แชล  การใช้แบบฟอร์มและ
               ตัวเลขเหล่านี้เป็นเครื่องช่วยที่จำเป็นสำหรับการพิจารณาหาปริมาณแอสฟัลต์ที่เหมาะสม (OAC) ตามข้างล่างนี้

                      7.1 โค้งการออกแบบของมาร์แชล (Marshall property curves)

                              1.  ขั้นแรก คือ การใช้สถิติตัวเลขใน Data sheets  โดยนำไปกำหนดเป็นโค้ง เช่น ในรูปที่
               6-2 เพื่อหาค่าเฉลี่ย

                              2.การทดสอบคุณสมบัติจากโค้งการกำหนดจุดที่จะบรรยายต่อไปนี้ ได้มาจากการผสมโดย

               ใช้แอสฟัลต์ซีเมนต์ ดังนี้
                                     2.1 ค่าการไหลเพิ่มขึ้น เมื่อปริมาตรบิทูเมนสูงขึ้นในอัตราหนึ่ง    (ยกเว้นในกรณีที่ม ี

               ปริมาณบิทูเมนต่ำมาก ๆ)
                                     2.2 ความคงตัวของมาร์แชล   เพิ่มขึ้นเมื่อปริมาตรบิทูเมนสูงขึ้น   จนถึงขีดอันหนึ่ง

               จากนั้นความคงตัวจะลดลง
                                     2.3 โค้งสำหรับหน่วยน้ำหนักของส่วนผสมทั้งหมด          คล้ายกับโค้งความคงตัว

               เว้นแต่ว่ายอดของโค้งหน่วยน้ำหนัก ปกติแล้วจะอยู่ที่ค่าปริมาณบิทูเมนสูงกว่ายอดโค้งความคงตัวเล็กน้อย

                                     2.4 โค้งสำหรับ % ช่องว่างในส่วนผสมทั้งหมด จะลดลงเมื่อปริมาณบิทูเมนสูงขึ้น
                                                                                              ี่
               ในมวลรวมคลุกแต่ละชนิด จะมีปริมาณช่องว่างต่ำที่สุดของมันเองอยู่ และความพยายามบดทับทใช้ในเรื่องนี้ไม่
               อาจทำให้ช่องว่างลดต่ำลงได้  นอกจากจะเปลี่ยนวิธีการบดทับปริมาณช่องว่างของส่วนผสมที่อัดตัวแน่นจะเข้า

               ใกล้ขีดต่ำสุดนี้ก็เมอปริมาณบิทูเมนของส่วนผสมเพิ่มขึ้น
                              ื่
                                     2.5  โค้งสำหรับ  %  ช่องว่างที่ถูกอุดด้วยบิทูเมนจะเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณบิทูเมนสูงขึ้น

                                                                     ี่
               และจะเข้าใกล้ขีดสูงสุด    ในลักษณะเดียวกันกับโค้งช่องว่างตามทได้กล่าวแล้วข้างบน(4)
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95