Page 86 - การดาดผิว
P. 86

6 - 4


                 5. การเตรียมมวลรวมและแอสฟัลต์
                       1. ความร้อนของมวลรวมและแอสฟัลต์ควรอยู่ในระหว่าง 130.9-163.9C (270และ 330 F)
                      2. แอสฟัลต์ที่ใช้ไม่ควรจะทำให้ร้อนเกินกว่า 1 ชม. ก่อนนำมาใช้

                      3. ผสมแอสฟัลต์และมวลรวมเข้าด้วยกันโดยเครื่องผสมหรือมือ

                      4. ผสมให้เร็วที่สุดเท่าที่ทำได้ และให้สม่ำเสมอโดยทั่วถึง
                      5.1 การบดอัดตัวอย่าง

                              5.1.1 อุณหภูมิส่วนผสมก่อนการบดอัด คือ 119.9   2.5  C (250   5  F)

                              5.1.2 ถ้าร้อนจัดเกินไปรอจนกว่าจะได้อุณหภูมิบดอัด
                              5.1.3 ถ้าเย็นเกินไป เช่นต่ำกว่า 117.2  C (245  F) ให้ทิ้งเสีย ไม่ควรนำกลับไปทำให้ร้อน

               เพิ่มขึ้นใหม่

                              5.1.4 การบดด้วยลูกตุ้มมาตรฐาน ยกสูง 18” 50 หรือ 75 ครั้ง     แล้วแต่ความดันลมยาง
               (ถ้าออกแบบสำหรับความดันลมยางสูง บดอัดจำนวน 75 ครั้ง ความดันยางต่ำ บดอัดจำนวน 50 ครั้ง) เสร็จ

               แล้วกลับเอาด้านล่างขึ้นทำการบดอัดเช่นเดียวกับททำมาแล้ว
                                                         ี่

                      5.2 วิธีการทดสอบ

                              ในวิธีการของมาร์แชลนั้น ตัวอย่างที่บดอัดแล้วแต่ละอันจะนำมาทดลองและวิเคราะห์ใน
               เรื่องตอไปนี้
                    ่
                              5.1.1 คำนวณหาความแน่น (ความถ่วงจำเพาะ)

                              5.1.2 ทดสอบความคงทนและการไหล
                              5.1.3 วิเคราะห์ความแน่นและช่องว่าง


                      5.3 การบันทึกการทดสอบ

                      ใช้แบบฟอร์ม ตารางที่ 6-1  Marshall  stability  data  sheet  บันทึกแบบคำนวณหาคุณสมบัติของ

               มาร์แชล
                      สูตรในการคำนวณ

                              ความถ่วงจำเพาะ       =      น้ำหนัก

                                                                  ปริมาตร
                              ปริมาตร                     =       น้ำหนัก

                                                                ความถ่วงจำเพาะ

                              น้ำหนัก       =   ความถ่วงจำเพาะ  x  ปริมาตร
                              หน่วยน้ำหนัก  =   ความถ่วงจำเพาะ  x  (62.4 ปอนด์/ลบ.ฟ.) 1 กรัมต่อ ลบ.ซม.
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91