Page 51 - Soil_Eng
P. 51

6-6


                          จากรูปที่  6.3  เมื่อบดอัดดินชนิดเดียวแตใชพลังงานในการบดอัดตางกัน  การบดอัดดินดวยการเพิ่ม
                    พลังงานในการบดอัดใหมากขึ้น จะได

                                 1. ความแนนแหงสูงสุดเพิ่มขึ้น OMC ลดลง
                                 3. ความแนนแหงจะเพิ่มมากในดานแหง (Dry Side)
                                 3. ความแนนแหงจะเพิ่มขึ้นนอยในดานเปยก (Wet Side)


                    8. โคงของการบดอัด  (Compaction Curve)
                          การบดอัดดินในหองทดลองตามวิธีที่กําหนดไว  เปนการทดลองเพื่อหาความสัมพันธระหวาง  ปริมาณ

                    ความชื้น (Moisture Content) และ ความแนน (Density) ซึ่งโดยปกติจะเปนในรูปของ ความแนนแหง (Dry
                    Density) การทดลองจะทําตอเนื่องกัน อยางนอย 5 ครั้ง  โดยในครั้งตอๆ ไปจะตองเพิ่มน้ําขึ้นเรื่อยๆ  แลวนํา

                    คาปริมาณความชื้นและความแนนแหงที่ไดจากการทดลองในแตละครั้งไปเขียนกราฟ  เรียกวา  โคงของการบด
                    อัด  (Compaction Curve) ดังรูปที่ 6.4




                                     รูปที่ 6.4 แสดงโคงของการบดอัดดิน ( Compaction Curve)



                                 Dry Density  d


                                                       100% Compaction
                               Max. d








                                                           OMC                   % Water content




                          ที่จุดสูงสุดของ   Curve  จะบอกใหทราบถึง
                                 1. ความแนนแหงสูงสุด หรือ Max.   (Maximum Dry Density)
                                                              d
                                 2. ปริมาณความชื้นพอเหมาะ หรือ OMC (Optimum Moisture Content)

                                 3. ที่จุดสูงสุด เรียกวา 100% ของการบดอัด (100% Compaction)
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56