Page 49 - Soil_Eng
P. 49

6-4


                    6. พลังงานที่ใชในการบดอัดดิน
                          พลังงานที่ใชในการบดอัดดินในหนวย ฟุต-ปอนด/ลบ.ฟุต คํานวณไดจากสูตร


                                             นน.คอน x ระยะกระทุง x จํานวนกระทุง/ชั้น x จํานวนชั้น
                                  พลังงาน =
                                                           ปริมาตรของดินในเบา


                    ตัวอยาง หาพลังงานที่ใชในการบดอัดดินโดยวิธี Modify Proctor ใชเบาขนาด  4.0"  4.6"

                                                             10 x 1.5 x 25 x 5
                                                 พลังงาน =
                                                                  1/30


                                                               = 56250 ฟุต-ปอนด / ลบ.ฟุต


                    7. ปจจัยที่มีผลตอความแนนของดิน
                           1.ชนิดของดิน (Type of Soil)



                                         รูปที่ 6.1 แสดงความแนนในการบดอัดดินตางชนิดกัน


                                  Dry Density  d


                                Max. d                               GW

                                Max. d


                                                                               CL




                                                      OMC    OMC                  % Water content

                           จากรูปที่ 6.1 เมื่อบดอัดดินตางชนิดกัน เชน พวกเม็ดหยาบจําพวกกรวดลําดับขนาดดี (GW) กับ พวก

                    เม็ดละเอียดจําพวกดินเหนียวที่มีคาการยุบตัวต่ํา (CL)  โดยใชพลังงานในการบดอัดเหมือนกัน การบดอัดดิน
                    GW  จะใหความแนนแหงสูงสุดมากกวา การบดอัดดิน CL  แตในทางกลับกัน การบดอัดดิน GW  จะใหคา

                    ปริมาณความชื้นพอเหมาะ (OMC) ต่ํากวา การบดอัดดิน CL
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54