Page 25 - Soil
P. 25
3-3
2.5 ถนนชั่วคราว (Access Roads)
2.5.1 ไปยังบอยืมดิน (to borrow pit) ถนนชั่วคราวไปยังบอยืมดินควรเกลี่ยและบดอัดเพื่อ
ลดความเปนคลื่นของถนนแกรถสายพานและยานลอ แหลงที่ใชรถขูดและยานลอขนถนนควรเรียบดวยรถเกลี่ย
เวนแตถนนนั้นเปนถนนเปยกหรือดินมี CBR (California Bearing Ratio) ต่ํามีความตองการนอยมากในการทํา
ผิวในบอยืมดินซึ่งตามปกติจะไมทํางานในระหวางดินเปยกถาแหลงดินตองการทํางานในสภาพชื้น (เปยก) ควร
พิจารณาทําผิวของถนนกอน ดินที่เปนฝุนควรควบคุมการทํางานดวยการควบคุมน้ํา, เชื้อประสาน
(Membrane) หรือแอสฟลต
2.5.2 ไปยังบอกรวด (To Gravel pits) การสรางถนนชั่วคราวไปยังบอกรวดควรเริ่มทันทีเมื่อ
มีแผนการปฏิบัติสมบูรณโดยถือโอกาสใชวัสดุที่ใชทําผิวจากดินหนาแร เพื่อใชขนวัสดุไปยังโรงโมและโรงยอยได
ตามตองการ ถนนเหลานี้ควรเปนถนนสั้น ๆ และเปนเสนทางที่งายที่สุด ควรใชไดทุกสภาพอากาศ จากสูงสุด
สําหรับการทํางานของรถบรรทุกคือ 10 เปอรเซ็นต แตรถถากถางที่มีรถขูดประกอบ สามารถไตลาดได 20
เปอรเซ็นตในระยะทางใกล ๆ ยกเวนถนนวงแหวนในแหลงบรรทุกของแหลงดินควรเปนถนนสองชองจราจร
2.6 การเลือกเครื่องมือ (Choice of Equipment)
การเลือกเครื่องมือที่ทํางานในแหลงดินสวนใหญกําหนดโดยวัสดุที่จะนําไปใชกับงานคอนกรีต มวลรวม
บิทูมินัสงานดินถมหรือสําหรับงานถนนและผิวของสนามบิน ในกรณีที่เปนกรวดตกตะกอน การเลือกเครื่องมือ
ขึ้นอยูกับภูมิอากาศ,แหลงดิน ที่ทํางานในลักษณะเปยกหรือแหงหรือไมก็เปนวัสดุสําหรับมวลรวมที่ตองทําความ
สะอาด
2.7 การควบคุมการจราจร (Traffic control)
การควบคุมการจราจรรวมถึงเสนทางจากแหลงดินและกําหนดระเบียบการจราจรภายในแหลงงาน
หลีกเลี่ยงการทําใหการจราจรลาชา ถนนในแหลงดินทั้งหมดควรออกแบบเปนวงแหวนการจราจรซึ่งทําใหการ
บรรทุกและยานยนตไมตัดกัน
2.8 การซอมบํารุงแหลงดิน (Pit Maintenance)
ขึ้นอยูกับขนาดของการทํางานรถถากถางหนึ่งหรือสองคันควรใหอยูใกล ๆ กับแหลงดินเพื่อทําแนวดิน
หนาแร,ซอมบํารุงถนนในแหลงดินและปองกันไมใหพื้นแหลงดินเปนหลุมและที่ต่ําซึ่งอาจเปนที่รวมน้ําได เนิน
(Humps), รอย (Ruts) และสัน (Ridges) จะตองหลีกเลี่ยงใชรถขูดทํางานซึ่งมีผลกระทบตอการขูดการทํางาน
ของรถปนจั่นประกอบรถงัดตักในแหลงดิน ตองใชรถถากถางทํางานเริ่มแรกและทํารอง รถถากถางสามารถใช
พรอมกับคราดเพื่อทําระดับในการทําทางและรวมกองวัสดุจากแหลงสะสม
2.9 การกํากับดูแล (Supervision)
การปฏิบัติงานในแหลงดินควรมีการกํากับดูแลอยางเหมาะสม นายงานในแหลงดินประกอบดวย
นายทหารหนึ่งนายหรือมากกวาหรือนายทหารชั้นประทวนที่ตองการจํานวนขึ้นอยูกับขนาดของแหลงดิน
ปริมาณและชนิดของเครื่องมือและลักษณะและปริมาณของงาน หนาที่ในการควบคุมเครื่องมือในการทําแนว,
จุดขูดดิน,การดัน,การควบคุมการขุด,จุดบรรทุก,กําหนดตําแหนงที่ตองขุดและการเคลื่อนยายรถงัดตักและรถ
คราด,ทิศทางการรวมกอง,การซอมบํารุงแหลงดิน,การควบคุมการจราจรและการประสานการปฏิบัติงานตาง ๆ
โดยทั่ว ๆ ไปแลวการปฏิบัติงานในแหลงดินเสียเวลาไปกับเครื่องมือบรรทุกและยกขนมากที่สุด