Page 8 - ป้อมสนาม
P. 8

1-1


                                                          บทที่ 1


               1. การจัดที่มั่นตั้งรับ  ( Organization of a defensive position )

                      1.1 การลาดตระเวน (Reconnaissance)
                              ปูอมสนามเป็นงานตั้งรับในสนามที่สร้างขึ้น    เพื่อเสริมความแข็งแรงของลักษณะที่ตั้งรับโดย
               ธรรมชาติของภูมิประเทศนั้น        ดังนั้นจึงเป็นธรรมดาที่เราจะต้องเลือกที่มั่นตั้งรับที่จะได้ประโยชน์จากการใช้

               ลักษณะภูมิประเทศให้ได้ผลดีที่สุด    และจะเป็นที่มั่นที่แข็งแรงที่สุดมีอยู่หลายกรณีที่ท่านในฐานะทหารช่างจะไม่
               ต้องเลือกบริเวณส าหรับที่มั่น แต่ท่านอาจถูกขอให้ค าแนะน าเพื่อช่วยผู้บังคับบัญชาในการเลือกดังนั้นก่อนที่
               สามารถให้ค าแนะน าอย่างถูกต้องแน่นอนแก่ผู้บังคับหน่วยทหารราบ      ท่านจะต้องทราบว่าที่มั่นตั้งรับนั้นเขาจัด
               กันอย่างไร  ผู้บังคับบัญชาคนใดที่จะยึดครองภูมิประเทศใด  ๆ ให้ได้เปรียบ ,  ผู้บังคับบัญชาผู้นั้นจะต้องท าการ

               ลาดตระเวน      และศึกษาหรือประเมินค่าของภูมิประเทศเสียก่อน        การลาดตระเวนจะให้สมบูรณ์หรือ
               กว้างขวางเพียงใดนั้นย่อมแล้วแต่สถานการณ์       และเวลาที่มีอยู่บางคราวอาจมีความจ าเป็นที่ท าได้แต่เพียง
               การศึกษาแผนที่เท่านั้น ปัจจัยต่าง ๆ นี้ต้องพิจารณาในการลาดตระเวนได้แก่ พื้นที่ยิง  ทางที่ข้าศึกน่าจะเข้ามาการ
               ตรวจการณ์การซ่อนพราง  และเส้นทางคมนาคม   เป็นต้น

                      1.2 การจัดระเบียบยุทธวิธี  ( Tactical Organization )

                              จากการศึกษาภูมิประเทศย่อมท าให้ผู้บังคับบัญชาหน่วยยุทธวิธีสามารถจัดการตั้งรับของตนให้
               เหมาะสมกับแบบการตั้งรับของหน่วยใหญ่   ซึ่งหน่วยตนเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยใหญ่นั้นเส้นแบ่งเขตต่าง  ๆ ของที่
               มั่นตั้งรับจะต้องก าหนดขึ้น   และจะต้องระมัดระวังที่จะไม่ก าหนดเส้นแบ่งเขตลงบนภูมิประเทศที่ส าคัญ (Critical
               Terrain Features) เช่น   แนวสันเขา หรือห้วย   ทั้งนี้เพื่อให้หน่วยข้างเคียงได้เข้าใจ ความรับผิดชอบโดยแน่นอน

               ในภูมิประเทศเหล่านี้อย่างแจ่มแจ้งและจะได้วางแผนกับหน่วยข้างเคียงด้วยขอบเขตเหล่านี้จะต้องก าหนดเขต
               จ ากัดหน้าหลังของที่มั่นให้แน่นอน       และจุดจ ากัดเขตด้วย        ซึ่งจะเป็นเครื่องก าหนดแนวขอบหน้าพื้นที่การ
               รบ  (ขนพร.)   ว่าอยู่ที่ใด แนว   (ขนมพร.)  นี้คือขอบเขตหน้าสุดของที่มั่นใหญ่ และเป็นที่ซึ่งระบุให้การยิงของ
               หน่วยต่าง ๆ    และอาวุธสนับสนุนมีการยิงประสานกัน ขอบเขต   และจุดต่าง ๆ  จะต้องก าหนดลงไปให้แน่นอน

               โดยมีทั้งในภูมิประเทศ  และในแผนที่ ในทุกกรณี

                      1.3 การจัดระเบียบการยิง  ( Organization of Fire )
                               การจัดการยิงทางปีกอย่างมีระเบียบของปืนกลเพิ่มเติมด้วยการยิงของอาวุธอื่น  ๆ      นับว่าเป็น
               มูลฐานของที่มั่นตั้งรับ จะต้องวางแผนการยิงฉากปูองกันขั้นสุดท้าย ( Final protective Fire ) เพื่อให้การยิงกวาด
               (Crazing Fire) ประสานกันโดยต่อเนื่องเต็มกว้างด้านหน้าของที่มั่นให้ได้ผลดีที่สุดเท่าที่สามารถท าได้ ปืนกลที่วาง

               อยู่ในแนวปูองกันขั้นสุดท้าย  ( Final Protective Line ) ควรวางเป็นคู่และห่าง     กันประมาณ  30 - 40 เมตร
               ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่าการยิงในแนวปูองกันขั้นสุดท้าย นั้นต่อเนื่องอยู่เสมอ การยิงจะต้องประสาน กับหน่วยข้างเคียง
               เพื่อให้การสนับสนุนซึ่งกัน  และกัน ได้ผลดีด้วยการกระท าดังกล่าวนี้    ย่อมท าให้เขตติดต่อระหว่างหน่วยซึ่งโดย

               ธรรมดาอ่อนแอทางยุทธวิธี  ได้รับการเสริมให้แข็งแรงขึ้นด้วยการยิง  การยิงของปืนใหญ่   และเครื่องยิงลูกระเบิด
               จะต้องประสานกับแผนการยิงในการตั้งรับ   เพื่อคลุมต าบลอับกระสุนต่าง ๆ ( Dead  Spaces ) ในย่านการยิง
               ของปืนกล     และในจุดส าคัญ  ๆ    ไม่ว่าสภาพของทัศนวิสัยจะเป็นอย่างไร , ในแผนจะต้องมีการชี้เปูาหมายได้
               โดยแน่นอน เพื่อให้ การขอการยิงใช้เวลาน้อยที่สุด  แผนการยิงที่สมบูรณ์จะต้องจัด การให้การยิงหนักยิ่งขึ้นเมื่อ

               ข้าศึกใกล้แนวขอบหน้าที่มั่น (ขนพร.) เข้ามา
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13