Page 52 - คอนกรีต
P. 52
2-23
ด้วยความหนาแตกต่างกัน เช่น ช่องที่ 3 ในตารางจะเป็นการฉาบผนังด้วย
ความหนา 1 ซม. และช่องที่ 4 จะฉาบ 1.5 ซม. เป็นล าดับ จนถึงฉาบหนา 3
ซม. ซึ่งความเป็นจริงแล้ว อาจฉาบหนาขึ้นกว่าขนาดที่ก าหนดในตาราง ก็
ใช้การเพิ่มเป็นจ านวนเท่าของความหนา เช่น ฉาบหนา 4 ซม. จะน าตัวเลข
ในตารางหนา 2 ซม. เพิ่มตัวเลขเป็น 2 เท่า โดยคูณด้วย 2 เป็นต้น
ส าหรับค่าตัวเลขที่แสดงไว้ แต่ละช่อง ตั้งแต่ช่องที่ 3
จนถึงช่องที่ 7 เป็นจ านวนปูนซีเมนต์ ปูนฉาบเป็น 1:2:5, 1:3:6 และ 1:4:8
์
ส่วนผสมแรกเป็น อัตราส่วนผสมที่มีปูนเค็ม (ปูนฉาบที่ผสมปูนซีเมนตมาก)
์
ต่อมาเป็นปูนกลาง (ปูนซีเมนตผสมปานกลาง) และปูนจืด (ปูนซีเมนต์ผสม
เพียงเล็กน้อย) จะสังเกตได้จากส่วนผนังหนึ่ง อาจต้องใช้ปูนทั้ง 3 อัตรา
ส่วนผสม หรือ อย่างน้อย 2 อัตราส่วนผสม แต่ส าหรับการคิดประมาณใช ้
ในอัตราส่วนของปูนฉาบชนิดดี คือ ปูนเค็ม หรือปูนกลางเอาไว้ก่อนส าหรับ
ตารางนี้สามารถอ่านค่าในอัตราส่วนผสม 1:2:5 ฉาบด้วยความหนา 1.5
ซม. จะอ่านค่าจากตารางได้ดังนี้
์
ปูนซีเมนต 3.50 กิโลกรัม
ปูนขาว (หน่ายตัวแล้ว .005 ลูกบาศก์เมตร)
ทรายละเอียด .0125 ลูกบาศก์เมตร
้
ตัวอย่างที่ 2.6 ในการฉาบผนังก่ออิฐทั้งสองหน้า ใชอัตราส่วนผสม 1:3:6
โดยฉาบที่ความหนา 1.5 ซม. จงหาจ านวนวัสดุที่ใช้ในปูนฉาบนั้น
วิธีท า
ดังที่ได้ท าการหาพื้นที่ของผนังก่ออิฐ โดยได้พื้นที่ทั้งสิ้น 36.00
ตารางเมตร แต่การฉาบเรียบ 2 หน้า