Page 29 - คอนกรีต
P. 29
1-19
้
สารกระจายกักฟองอากาศจะช่วยใหเกิดฟองอากาศเล็ก ๆ มอง
่
ด้วยตาเปล่าไมเหน แผปนอยู่ทั่วเนื้อคอนกรีต โดยฟองเหล่านี้จะไมทะลุ
็
่
่
ถึงกันได้ ในคอนกรีต 1 ลบ.ม. อาจมฟองอากาศเล็ก ๆ นี้ ประมาณ 3 –
ี
6 % ของเนื้อคอนกรีตทั้งหมดโดยปริมาตร การที่ในเนื้อคอนกรีตม ี
ี
ฟองอากาศขนาดเล็ก ๆ เหล่านี้ จะช่วยท าใหคอนกรีตมความสามารถใน
้
การเทได้มากขึ้น แมว่าจะมปริมาณน้ าน้อยก็ตาม เพราะฟองอากาศ
ี
้
้
ิ
เหล่านี้จะช่วยท าหน้าที่เป็นตัวหล่อลื่นแทนน้ า นอกจากนี้ช่วยมใหน้ าใน
ึ่
คอนกรีตแข็งเป็นน้ าแข็ง ก่อนที่คอนกรีตจะก่อตว ซงเป็นประโยชน์ใน
ั
การหล่อคอนกรีตในฤดูหนาว หรือในเมืองที่มีอากาศหนาวเย็นมาก
สารกระจายกักฟองอากาศยังช่วยลดการแยกตัว, การสูญเสียน้ า
ั
้
, ไม่รั่วซึม รวมทั้งเพิ่มความตานทานซลเฟตด้วย ข้อเสียของการใช้สาร
นี้ก็คือ ท าให้คอนกรีตมีก าลังต่ าลง เนื่องจากคอนกรีตมีรูพรุนมาก และใน
การใช้เครื่องเขย่าคอนกรีตเพื่อท าใหคอนกรีตแน่นตว ตองระวังใหมาก
้
้
ั
้
้
กว่าเดิมเพราะถ้าเขย่ามากแล้ว จะท าใหจานวนฟองอากาศลดน้อยลงไป
เกือบ 50 เปอร์เซ็นต์
สารกระจายกักฟองอากาศมีหลายชนิดซึ่งอาจท ามาจาก ยางไม
้
ไขมัน น้ ามันสัตว์ - พืช
ี
นอกจากการใช้สารเคมกระจายกักฟอกอากาศมาผสมใน
คอนกรีตแล้ว ปัจจบันยังมคอนกรีต กระจายกักฟองอากาศ ซงผลิต
ึ่
ี
ุ
์
ี
ขึ้นโดยใช้ซเมนตปอร์ตแลนด์ชนิดกระจายกักฟองอากาศ ( Air
Enrraining Cement) ซึ่งให้คุณสมบัตเช่นเดียวกันกับการเตมสารดังได้
ิ
ิ
กล่าวมาแล้ว.
_______________________