Page 26 - คอนกรีต
P. 26
1-16
นอกจากนี้ยังไม่ควรใช้น้ าทะเลในงานคอนกรีตเสริมเหล็ก ทั้งนี้เพราะจะ
้
ุ
ท าใหเหล็กเสริมเป็นสนิม และผกร่อนเร็ว ส าหรับงานก่อสร้างคอนกรีต
เสริมเหล็กในน้ าทะเลควรมีคอนกรีตหุ้มเหล็กเสริมอย่างน้อย 7 ซม.
5.2 หน้าที่ของน้ าที่ใช้ผสมคอนกรีต
น้ าท าหน้าที่หลายประการในการผสมคอนกรีต หน้าที่ที่ส าคัญ
ได้แก่
5.2.1 เคลือบวัสดุมวลรวม
น้ าท าให้วัสดุมวลรวมเปียกเพื่อให้ปูนซีเมนต์เข้าเกาะได้
โดยรอบ และจับยึดตัวกันได้
5.2.2 หล่อลื่นวัสดุมวลรวมท าให้เกิดความเหลว
เมื่อคอนกรีตมีความเหลวจะสามารถเทได้ กระทุ้ง เขย่าเข้า
รูปแบบหล่อ เป็นรูปต่าง ๆ ได้
5.2.3 ท าปฏิกิริยาทางเคมีกับปูนซีเมนต์
น้ าเมื่อท าปฏิกิริยาเคม (ปฎิกิริยาไฮเดรชั่น) จะท าใหผง
้
ี
ซีเมนต์ติดอยู่กับวัสดุมวลรวม
กลายเป็นวุ้นช่วยประสานผิวระหว่างวัสดุผสม ใหเกาะยึดตัวแน่นเมื่อ
้
แข็งตัว สารที่เจือปนอยู่ในน้ า ซึ่งมีผลท าให้คุณภาพคอนกรีตเสียไป
ได้แก่ พวกฝุ่น หรือผง (SILT ) น้ ามัน กรด ด่าง เกลือต่าง ๆ และน้ าทิ้ง
จากโรงงานอุตสาหกรรม หรือบ้านเรือนต่าง ๆ เป็นต้น
6. สารผสมเพิ่ม (ADMIXTURES)
ื่
ี
สารผสมเพิ่มหมายถึง สารเคมอนๆ นอกเหนือไปจาก ปูนซเมนต
ี
์
วัสดุมวลรวม และน้ าที่ใช้เตมลงในส่วนผสมของคอนกรีต ด้วย
ิ
จุดประสงค์เพื่อ ปรับเปลี่ยนคุณสมบัติบางประการของคอนกรีต
่
ิ
้
สารผสมเพิ่มจะใหผลแตกตางกัน ขึ้นอยู่กับคุณสมบัตของ
ปูนซเมนตที่ใช้ ขนาด รูปร่าง และส่วนขนาดคละของวัสดุมวลรวม น้ า
ี
์
ู
และอณหภูม ดังนั้น การใช้สารผสมเพิ่ม จงควรได้ทราบถึงข้อมล
ิ
ึ
ุ
ู้
ี
ตลอดจนข้อแนะน าในการใช้ของบริษัทผผลิตโดยละเอยด นอกจากนี้