Page 49 - ป้อมสนาม
P. 49

4-6

               5. ความต้องการในการสร้างคู

                      1) ถ้าเป็นคูยิง จะต้องมีพื้นยิงดี และฝ่ายตั้งรับใช้อาวุธของตนได้มากที่สุด และต้องเหมาะกับการยิงทางปีก
               หรือยิงเฉียงเช่นเดียวกับการยิงไปข้างหน้า
                       2) คูจะต้องให้การป้องกันต่อการยิงกราดโดยใช้วิธีเปลี่ยนทิศทางของคูบ่อย ๆ คูทุกคูซึ่งอาจถูกยิงกราดจาก
               การยิงโดยมีการตรวจการณ์ของข้าศึก ควรเปลี่ยนทิศทางเป็นมุมมาก ๆ อย่างน้อย 90 ม.ต่อครั้ง

                      3) คูจะต้องให้การป้องกันจากการยิงกราด    และการระเบิดของกระสุนปืนใหญ่ภายในคูด้วยโดย
               เปลี่ยนทิศทางเล็กน้อยบ่อย ๆ   แต่การเปลี่ยนทิศทางนี้จะต้องกระท าทุก   15 - 20 ม. ต่อครั้ง เป็นอย่างน้อย
                      4)  เพื่อลดจ านวนกระสุนปืนซึ่งอาจเข้าไปในคูโดยตรง คูจึงต้องแคบที่สุดเท่าที่สามารถ จะกระท าได้ แต่

               จะต้องไม่แคบจนเกินไป จนท าให้การจราจรภายในคูล าบากเกินควร
                      5)  จะต้องเลือกที่ตั้งให้ได้เปรีบบจากการระบายน้ าตามธรรมชาติของภูมิประเทศนั้น และจะต้องสร้างให้มี
               การระบายน้ าได้เพียงพอ
                      6) จะต้องเป็นแบบธรรมดา และง่ายแก่การวางผังและการสร้าง

                      7) โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าใช้เป็นคูติดต่อสื่อสาร  ควรจะกว้างเพียงพอที่จะให้แถวตอนเรียงหนึ่งสองแถวสวน
               กันได้ง่าย     ถ้าหากไม่สามารถที่จะท าให้คูกว้างได้ตลอดทั้งแนวก็จะต้องท าให้กว้างพอเพื่ออุปกรณ์ชิ้นใหญ่ ๆ เช่น
               เปลพยาบาล  สามารถเคลื่อนที่ผ่านไปได้โดยง่าย

                      8) ถ้าพื้นที่ที่มั่นของหมวด  กองร้อย  กองพันต่าง ๆ เชื่อมติดต่อกันด้วยคู แนวตั้งรับที่เกิดขึ้นควร เปลี่ยน
               ทิศทางเป็นมุมมาก ๆ และให้บ่อยกว่าที่กล่าวในข้อ  2 เพื่อลดความสามารถของข้าศึกในการที่จะทิ้งระเบิดและการ
               ยิงฉาก (barrage fire)
                      9)  คูควรพรางหรือซ่อนพรางจากการตรวจการณ์ทั้งทางอากาศ และพื้นดิน เท่าที่กระท าได้ถ้าท าไม่ได้

                                          ี่
               ดังกล่าวนี้ก็ต้องท าไม่ให้เด่นเท่าทสามารถจะกระท าได้  ที่มั่นแต่ละแห่งภายในระบบคู ต่าง ๆ เช่น ที่ตั้งปืนกล ที่พัก
               ก าบัง และเส้นทางไปยังที่ตั้งเหล่านั้นย่อมสามารถพรางอย่างได้ผล และได้ประโยชน์อย่างมหาศาล         การพราง
               ดังกล่าวนี้รวมทั้งรูปรอยและรูปร่างของส่วนที่มิได้พราง ซึ่งต่อเนื่องกันและเป็ นไปอย่างสม่ าเสมอนี้จะเป็นเครื่อง

               ป้องกันมิให้ข้าศึกทราบที่ตั้ง และจ านวนหน่วยทหารในรายละเอียดได้ เราสามารถจะซ่อนพรางคูจากการตรวจ
               การณ์ทางพื้นดินได้อย่างได้ผลมาก ดังนั้นทหารราบข้าศึกที่เข้าตีซึ่งถึงแม้จะทราบที่ตั้งของคูต่าง ๆ จากการตรวจ
               การณ์ทางอากาศก็ตาม จะสับสนในที่ตั้งอันแน่นอน และความแข็งแรงของคูส าหรับการซ่อนพรางคูนั้นควรใช้ข้อดี
               ของป่าไม้ และใต้พุ่มไม้ให้ได้ประโยชน์สูงสุดดินที่ขุดขึ้นมาใหม่ ๆ  ถ้าตัดกับสิ่งแวดล้อมอย่างเห็นได้ชัดแล้ว ควรปิด

               เสียด้วยดินชั้นบน แผ่นหญ้า ต้นหญ้าหรือพุ่มไม้ จงหลีกเลี่ยงอย่าให้มูลดิ นหักเป็นแนวตรงหรือสม่ าเสมอ ควรให้
               กลมกลืนกับความไม่สม่ าเสมอของภูมิประเทศและสภาพแวดล้อม

               6. รูปรอยมาตรฐาน  ( standard traces )

                     ในบรรดารูปรอยแบบต่าง ๆ ของคูที่จะกล่าวต่อไปนี้ ถ้าแบบใดเหมาะกับสถานะการณ์ทางยุทธวิธีและภูมิ
               ประเทศที่สุดก็ควรใช้แบบนั้น หากเป็น สถานะการณ์พิเศษก็ผสมหรือดัดแปลง เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของ
               สถานะการณ์พิเศษนั้น  ระยะช่วงหนึ่งช่วงใดของรูปรอยของคู  ควรก าหนดความยาวโดยประมาณตามจ านวนทหาร
               ภายในหมู่ที่จะยึดครองคูนั้นโดยธรรมดา  1.50  ม.  ส าหรับทหารแต่ละคนนับเพียงพอ แต่ถ้ากว้างด้านหน้ามาก

               ระยะห่างระหว่างคนก็จะต้องมากขึ้นอีก

                      6.1 แบบแปดเหลี่ยม ( Octagonal )
                              รูปรอยแบบแปดเหลี่ยมเป็นแบบที่ดีเลิศส าหรับคูยิง ( Fire Trench ) ในเกือบทุกสถานการณ์ ให้
               การป้องกันดีเลิศ และการระเบิดของกระสุนปืนใหญ่จะถูกจ ากัดอยู่เฉพาะแห่ง
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54