Page 88 - การประมาณการก่อสร้าง
P. 88
29
3
3-29
-
ตัวอย่างที่ 3.7
1) การพิจารณาแบบ ตามรูปที่ 3.4 (ก) แสดงความกว้างและยาวของบ่อซึ่งมองจากด้านบน
้
กว้างภายใน 2.00 เมตร ยาวภายใน 3.50 เมตร ถาขอบบ่อหนาเท่ากันตลอด 0.20 เมตร เมื่อ
รวมความหนาของขอบบ่อภายนอกทั้ง 2 ด้านเท่ากับกว้าง 2.40 เมตร และยาว 3.90 เมตร มีรอย
ตัดขาดเส้นประสั้นและยาวสลับกัน แล้วให้มองไปตามหัวลูกศรตามแนว 2 - 2 จะเห็นเป็นแบบตาม
้
รูปที่ 3.4 (ข) แสดงความลึกของบ่อจากผิวขอบบ่อจนถึงก้นบ่อลึก 1.00 เมตร และถารวมความหนา
ิ้
ก้นบ่อ 0.20 เมตรเข้าไปด้วยจะมีความลึกทั้งสน 1.20 เมตร นอกจากนจะบอกระยะความหนาของ
ี้
การหล่อผนังคอนกรีตที่เป็นขอบบ่อด้วย ตามรูปตัดนี้จะพบว่าบ่อมีความลึกเท่ากัน
รูปที่ 3.4 (ค) แสดงรูปโอโซเมตริกให้เห็นเป็นแผ่นชัดว่าควรแยกออกเป็นชิ้นเพอให้งายยิ่งขึ้น
่
ื่
และตัดเป็นรูปแท่งออกจากแบบก่อสร้าง อาจพจารณาได้เป็น 4 แผ่นสาหรับขอบบ่อและก้นบ่ออก 1
ิ
ี
แผ่น ความหนาเท่ากันหมด
แผ่นที่ 1 กว้างหรือลึก 1.00 เมตร ยาว 3.50 เมตร และหนา 0.20 เมตร
แผ่นที่ 2 (มีขนาดเท่ากันกับแผ่นที่ 1)
แผ่นที่ 3 กว้างหรือลึก 1.00 เมตร ยาว 2.40 เมตร และหนา 0.20 เมตร
แผ่นที่ 4 (มีขนาดเท่ากันกับแผ่นที่ 3)
แผ่นที่ 5 เป็นแผ่นพื้นกว้าง 2.40 เมตร ยาว 3.90 เมตร และหนา 0.20 เมตร
2) การค านวณจ านวนคอนกรีต
วิธีที่ 1 ค านวณต่อชิ้นของแผ่น
แผ่นที่ 1 1.00 x 3.50 x 0.20 = 0.7 ลูกบาศก์เมตร
แผ่นที่ 2 1.00 x 3.50 x 0.20 = 0.7 ลูกบาศก์เมตร
แผ่นที่ 3 1.00 x 2.40 x 0.20 = 0.48 ลูกบาศก์เมตร
แผ่นที่ 4 1.00 x 2.40 x 0.20 = 0.48 ลูกบาศก์เมตร
แผ่นที่ 5 2.40 x 3.90 x 0.20 = 1.872 ลู ก บ า ศ ก์
เมตร
รวมคอนกรีตทั้งสิ้น = 4.232 ลูกบาศก์เมตร