Page 83 - การประมาณการก่อสร้าง
P. 83

-
                                                         3
                                                         3-24
                                                            24


                     3.4.2    การประมาณจ านวนวัสดุที่ใช้ในพื้น

               ตัวอย่างที่   3.6


                      1) พนคอนกรีตเสริมเหล็ก ตามรูปที่ 4.3 เป็นพนคอนกรีตสาหรับพนอาคารชั้นบน หรือพน
                           ื้
                                                                                                         ื้
                                                                    ื้
                                                                                     ื้

               ห้องน้ า การให้ตัวอักษรของพื้นใช้ S แทนค าว่า Slab ซึ่งแปลว่าพื้น ส่วนตัวเลขที่ก ากับแสดงให้ทราบ
                                                               ั
               ว่าเป็นพื้นเบอร์เท่าไร  เนื่องจากพื้นจะมีไม่มากและไม่สบสนเหมือนคาน จึงไม่ค่อยใช้ตัวเลขก ากับชั้นของ
                                       ้
                                                           ้
               การวางพื้น เพราะพื้นห้องนาชั้นที่ 1 กับพนห้องนาชั้นที่สองจะมีขนาดเท่ากัน หรือใกล้เคียง จึงมีขนาด
                                                    ื้
               ความหนา และกว้างยาวไม่ต่างกัน จึงใช้พื้นเบอร์เดียวกันได้
                      นอกจากนี้พื้นคอนกรีตยังต่อกับคานคอนกรีตอีกด้วยตามแบบเมื่อจะท าการคิดประมาณเฉพาะพื้น
               จึงต้องแยกพื้นออกมาจากคานโดยเด็ดขาด แต่ถ้าเป็นการคิดเหล็กเสริมให้คิดประสานกับคานได้ พนนจะ
                                                                                                     ื้
                                                                                                       ี้
               มีความหนาสม่ าเสมอตลอดแผ่น บางแบบอาจก่อสร้างพนหนาไม่เท่ากัน จึงต้องค านวณหาคอนกรีตเป็น
                                                                ื้
               ส่วน ๆ

                      รูปที่ 3.3 (ก) แสดงแปลนพื้น S1 มีคานล้อมรอบพื้นตามเบอร์คานต่าง ๆ ศูนย์กลางของคาน


                                            ้
                                                           ื้
               ด้านยาวมีระยะ 3.00 เมตร ถาคิดเฉพาะแนวพนโดยตัดความหนาของคาน 0.15  เมตร  (ข้างละ
               ครึ่งคาน) ออกจากระยะดังกล่าว จะได้ระยะพนเพยง 2.85 เมตร (3.00  - 0.15 =  2.85
                                                             ี
                                                         ื้
               เมตร) ส่วนด้านแคบมีระยะศูนย์กลางคานของปลายพนทั้งสองด้านเท่ากับ 2.00 เมตร คงเหลือระยะ
                                                              ื้
               กว้างของพื้นด้านนี้เพียง 1.85 เมตร (2.00 - 0.15 = 1.85 เมตร)


                          รูปที่ 3.3 (ข) แสดงรูปไอโซเมตริกให้เห็นแผ่นพื้นที่มีขนาด 2.85 x 1.85 เมตร และมีความ

               หนาสม่ าเสมอตลอดแผ่น 0.08 เมตร (8 ซม.) การต่อกันของพื้นกับคานอาจอยู่ต่ ากว่าหลังคานประมาณ
               5  –           10  ซม.  เพื่อเป็นขอบกั้นน้ าในห้องน้ ามิให้ออกมานอกห้องน้ า  แม้คอนกรีตคานกับพื้นจะ

               ประสานกันก็ตาม  แต่ควรพยายามคิดตัดห่างกันโดยเด็ดขาด  ตามวิธีที่จะคิดให้ได้จ านวนคอนกรีตที่
               แน่นอน

                      รูปที่ 3.3 (ค) เป็นรูปตัด       1    -     1   ของรูปที่ 3.3 (ก) เพอเนนให้เห็นลักษณะ
                                                                                            ้
                                                                                        ื่
               ของการวางพื้นต่อกับคานและแสดงระยะภายนอกของพน 1.85 เมตร สวนระยะกลางคานหรือกลาง
                                                                                 ่
                                                                ื้
               เสาที่มีความกว้าง         0.15  เมตร จะเป็นช่วง 2.00  เมตร ซงเป็นช่วงแคบของพน ให้ดูตาม
                                                                               ึ่
                                                                                                ื้
               รอยตัดขาดไปตามลูกศร

                      2) การหาจ านวนพื้น S1 จะมีเท่าไรนับได้จากแปลนคาน พื้น ปกติในพื้นชั้นหนึ่งจะมี S เพยง
                                                                                                       ี
               1 หรือ 2 เท่านั้น เว้นแต่เป็นห้องแถวจะมีพื้นนี้ทุก ๆ ห้องก็ได้

                      เพอให้ตัวเลขระบุอย่างเด่นชัดและเกิดความเข้าใจในการคิดประมาณการ จึงสมมติจ านวนพน
                                                                                                        ื้
                         ื่
               คอนกรีตส าหรับอาคารเพื่อเป็นตัวอย่างไว้ ดังน:-
                                                        ี้
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88